ธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล (อังกฤษ: good governance) คือ การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุมดูแล กิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น
ธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำมาใช้บริหารงานในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุเพราะ ช่วยสร้างสรรค์และส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ อาทิ พนักงานต่างทำงานอย่างซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ทำให้ผลประกอบการขององค์กรธุรกิจนั้นขยายตัว นอกจากนี้แล้วยังทำให้บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อมั่นในองค์กรนั้น ๆ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส ย่อมได้รับความไว้วางใจในการร่วมทำธุรกิจ รัฐบาลที่โปร่งใสตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนและประชาชน ตลอดจนส่งผลดีต่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เป็นต้น
สำหรับบทบาทของสำนักงาน ก.พ.ร. ในเรื่องธรรมาภิบาลนั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลักในการสร้างการตระหนักในเรื่องธรรมาภิบาล โดยอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ เช่น การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การนำธรรมาภิบาลมากำหนดไว้เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ เช่น ความโปร่งใส การจัดเวทีให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม เป็นต้น
ทั้งนี้ ยังมีอีกแนวคิดหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องธรรมาภิบาล คือ ธรรมาภิบาลเป็นเรื่องการวางกลไกให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การวางโครงสร้าง ในขณะที่อีกด้านหนึ่งของเหรียญคือ เรื่องตัวบุคคล เป็นเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลเป็นการวางระบบวางโครงสร้างเพื่อควบคุมให้คนไม่ประพฤติปฏิบัติ แต่จริยธรรมจะลึกกว่านั้น โดยมีการปลูกฝังจิตสำนึก ต้องไม่ทุจริต ไม่ประพฤติมิชอบ ทั้งสองด้านจะต้องไปด้วยกันจึงจะยั่งยืน [สำการสร้างธรรมาภิบาล (Good governance)
ความนำ
ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาลได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ทั้งองค์การภาครัฐและภาคเอกชนได้ให้ความสำคัญ และนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์การ
ธรรมาภิบาลเกี่ยวข้องกับการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพสู่ประชาชน โดยมุ่งให้เกิดความเป็นอิสระในการบริหารงาน การลดการควบคุม ให้ผู้บริหารสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตามเป้าหมายสถาบันที่ทำหน้าที่บริหารงานภาครัฐ
นอกจากจะต้องกำหนดบทบาทของตนอย่างชัดเจนแล้ว มีความพร้อมที่จะถูกตรวจสอบ ต่อแนวทางการใช้อำนาจในการดำเนินงาน ส่วนในองค์การภาคเอกชนก็เช่นเดียวกันที่หันมาให้ความสนใจ ในเรื่องของบรรษัทภิบาล Coporate good governance
วิธีการและเป้าหมายของการปฏิรูประบบการบริหารของส่วนราชการ
จะใช้ธรรมาภิบาลเป็นเสมือนเครื่องมือในการพัฒนาขีดความสามารถโดยมีการส่งเสริมบทบาทให้เกิดการทำงานที่ปราศจากการคอร์รัปชั่น หรือการไม่นำผลประโยชน์ของสาธารณะมาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว
มีการใช้หลักนิติธรรมในการดำเนินงาน หรือสร้างกรอบในการดำเนินงานเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับหลักนิติธรรม ลดกฎระเบียบที่มากจนเกินไป ที่เป็นต้นเหตุของการทำงานที่ล่าช้า มีการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจนเพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม มีกระบวนการตัดสินใจที่โปร่งใส มีกฏ กติกา มารยาท ในการบริหารงาน
ความหมายของธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน
ซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการและฝ่ายธุรกิจสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีความรู้รักสามัคคีและร่วมกันเป็นพลังก่อให้เกิดการพัฒนาอย่งยั่งยึน และเป็นส่วนเสริมความเข้มแข็งหรือสร้างภูมิคุ้มกันแก่ประเทศ
เพื่อบรรเทาป้องกัน หรือแก้ไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายที่หากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรู้สึกถึงความยุติธรรม ความโปร่งใส และความมีส่วนร่วม อันเป็นคุณลักษณะสำคัญของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สอดคล้องกับความเป็นไทย รัฐธรรมนูญ และกระแสโลกยุคปัจจุบัน (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542)
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างธรรมาภิบาล
การส่งเสริมให้เกิดการสร้างธรรมาภิบาลนั้น มาจากความร่วมมือของทั้งสถาบันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม
บทบาทของรัฐที่สำคัญนั้น คือรัฐเป็นผู้มีบทบาทในการวางรากฐาน และรักษากฎระเบียบต่าง ๆ การสร้างธรรมาภิบาลของรัฐนั้นจำเป็นต้องอาศัยระบบการจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีภาระรับผิดชอบภายใต้กฎหมาย และนโยบายที่โปร่งใสตรวจสอบได้
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องมีการปฏิรูประบบราชการเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และรับผิดชอบภายใต้กรอบของกฎหมาย
ซึ่งจุดมุ่งหมายในการสร้างธรรมาภิบาลของภาครัฐนั้นจะต้องพยายามปฏิรูปการบริหารจัดการให้ถูกต้องตามหลักเหตุผล และหน้าที่ มีระบบความรับผิดชอบด้านการเงินที่มีประสิทธิภาพมาใช้ และให้มีความโปร่งในการปฏิบัติงาน ยกระดับความชำนาญของภาครัฐให้มีความทันสมัย เป็นต้น
ส่วนบทบาทขององค์การภาคเอกชน และบทบาทของประชาสังคมที่มีต่อการสร้างธรรมาภิบาล คือ การรวมตัวกันของสาธารณชนในการต่อต้านการทุจริตและการประพฤติมิชอบ โดยรัฐควรมีการหามาตรการที่จะกระตุ้นให้เกิดการตระหนักถึงการทำผิดจรรยาบรรณ เป็นต้น
หลักการพื้นฐานของการสร้างธรรมาภิบาล
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 ระบุว่าธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบ 6 ประกอบ คือ
1.หลักนิติธรรม ได้แก่ การตรากฏหมาย กฎ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับเหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมายมิใช่ตามอำเภอใจ หรือตามอำนาจของตัวบุคคล
2.หลักความโปร่งใส ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวกเป็นจริง ทันการณ์ ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียมมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้
3. หลักการมีส่วนร่วม ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศ ในด้านต่าง ๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทำนั้น
4. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ได้แก่ ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้เป็นการสร้างกลไกให้มีผู้รับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาตลอดจนการเคาระในความคิดเห็นที่แตกต่างและความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทำของตน
5.หลักความคุ้มค่า ได้แก่ การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
6. หลักคุณธรรม ได้แก่ การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม สำนึกในหน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผู้อื่น
การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
การบริหารงานในรูปแบบของธรรมาภิบาลนั้นจะเน้นที่การเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มั่นคง ไม่ล้มละลาย ไม่เสี่ยงต่อความเสียหาย พนักงานมีความมั่นใจในองค์การว่าสามารถปฏิบัติงานในองค์การได้ในระยะยาว การนำธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารนั้น เพื่อให้องค์การมีความน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากสังคม
ปัจจุบันการบริหารงานในภาครัฐได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างมากในเรื่องของความโปร่งใสในการดำเนินงาน ดังนั้นการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในหน่วยงานของรัฐก็เพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อถือศรัทธาว่าปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริต คอรัปชั่นของหน่วยงานภาครัฐจะลดลง ซึ่งสิ่งที่จำเป็นในการบริหารงานของหน่วยงานในภาครัฐ ได้แก่
1. ภาระรับผิดชอบตรวจสอบได้
2. ความโปร่งใส
3. การปราบปรามการทุจริตและการประพฤติมิชอบ
4. การสร้างการมีส่วนร่วม
5. การสร้างกรอบทางกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
6. การตอบสนองที่ทันการ
7. ความเห็นชอบร่วมกัน
8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง
1. ความรับผิดชอบตรวจสอบได้
ความรับผิดชอบ คือ บุคคล องค์การ และผู้ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ ซึ่งหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานภาครัฐ ต้องมีภาระความรับผิดชอบต่อสาธารณะเกี่ยวกับการกระทำ กิจกรรม หรือการตัดสินใจใด ๆ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อสาธารณะ ความรับผิดชอบที่กล่าวมา หมายถึง การเปิดเผยข้อมูล การมีความยุติธรรม ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค และตรวจสอบได้ โปร่งใส และดำเนินการภายใต้กรอบของกฎหมาย
2. ความโปร่งใส
ความโปร่งใส หมายถึง การตัดสินใจและการดำเนินการต่าง ๆ อยู่บนกฎระเบียบชัดเจน การดำเนินงานของรัฐบาลในด้านนโยบายต่าง ๆ นั้น สาธารณะชนสามารถรับทราบ และมีความมั่นใจได้ว่าการดำเนินงานของรัฐนั้นมาจากความตั้งใจในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายของนโยบาย
3. การปราบปราบทุจริตและการประพฤติมิชอบ
การที่องค์การภาครัฐใช้อำนาจหน้าที่หรือการแสวงหาผลประโยชน์ในทางส่วนตัว เหล่านี้ถือเป็นการทุจริต และการประพฤติมิชอบทั้งต่อองค์การภาครัฐเองและองค์การในภาคเอกชน การปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานและการทำให้เกิดความโปร่งใส รวมไปถึงการปฏิรูประบบราชการจะเป็นเครื่องมือในการปราบปรามการฉ้อฉล และเสริมสร้างธรรมาภิบาล
4. การสร้างการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้กับประชาชน หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทในการตัดสินใจดำเนินนโยบาย มีส่วนร่วมในการควบคุมการปฏิบัติงานของสถาบัน การมีส่วนร่วมจะก่อให้เกิดกระบวนการตรวจสอบ และเรียกร้องในกรณีที่เกิดความสงสัยในกระบวนการทำดำเนินงานของรัฐได้เป็นอย่างดี
5. การมีกฎหมายที่เข้มแข็ง
ธรรมาภิบาลมีพื้นฐานการดำเนินการอยู่บนกรอบของกฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบัติ มีการให้ความเสมอภาคเท่าเทียม และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย มีกฎหมายที่เข้มแข็ง มีการระบุการลงโทษที่ชัดเจนและมีผลบังคับใช้ได้จะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาระบบการปกครองเพื่อป้องกันการละเมิด หรือฝ่าฝืน การมีระบบกฎหมายที่ดีจะส่งเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรม
6. การตอบสนองที่ทันการ
ธรรมาภิบาล หมายถึง การให้การตอบสนองที่ทันการต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในเวลาที่ทันการ
7. ความเห็นชอบร่วมกัน
สังคมที่ประกอบด้วยบุคคลที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันไป ธรรมาภิบาลจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานความต้องการที่แตกต่างให้บนพื้นฐานของประโยชน์ส่วนรวมและขององค์การเป็นหลัก
8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในหลักธรรมาภิบาลนั้น ต้องการให้มีการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่า
9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง
หลักธรรมาภิบาลจะเน้นให้บุคลากรทุกคนในองค์การรู้สึกมีส่วนร่วมหรือรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับองค์การ บุคคลสามารถมีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมหลักที่จะช่วยสร้างความเติบโตให้กับหน่วยงาน
สรุป
การใช้หลักธรรมภิบาลทำให้องค์การสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานได้ อีกทั้งยังเป็นกลไกในการควบคุมติดตาม และตรวจสอบ โดยมีประชาชน หรือองค์การภายนอกมีส่วนร่วม
ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่การบริหารองค์การ เพราะการสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นในองค์การเป็นการสร้างสำนึกที่ดีในการบริหารงาน และการทำงานในองค์การ และจัดระบบที่สนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามสำนึกที่ดี
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพไม่สิ้นเปลือง การติดตามการทุจริต ความโปร่งใส โดยคำนึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ เนื่องจากผู้ทีได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐนั้นจะเกี่ยวข้องกับประชาชนโดยตรง
นักงาน ก.พ.ร.]
ธรรมาภิบาล คืออะไร?
“ ธรรมาภิบาล ” กำลังเป็นเรื่องที่พูดถึงกันบ่อย และเป็นเรื่องที่ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานและการปกครอง วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ควรทำความรู้จักในเรื่องนี้ เนื่องจากแนวทางประชาคมโลกหันมาสนใจกับกระแสโลกาภิวัฒน์และการบริหารจัดการที่ดีมากขึ้นแทนการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเดียว
ธรรมาภิบาลคืออะไร
“ ธรรมาภิบาล ” แปลจากภาษาอังกฤษว่า “ good governance” หมายถึง การบริหารบ้านเมืองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรมบางครั้ง ภาคเอกชน จะใช้คำว่า “ บรรษัทภิบาล ” หรือ “ การกำกับดูแลกิจการที่ดี ” แปลจากภาษาอังกฤษ “ corporate governance” หรือ “ corporate social responsibility” รวมทั้งคำย่อที่มักเรียกสั้นๆว่า “CG” หรือ “ CSR” ล้วนมีความหมายใกล้เคียงกัน
ธรรมาภิบาลในภาคเอกชน หมายความถึง การบริหารจัดการธุรกิจที่เป็นธรรมและโปร่งใส โดยที่ผู้มีอำนาจบริหารจัดการธุรกิจนั้นๆ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และผลการกระทำของตนต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัททุกราย รวมถึงผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ พนักงาน รัฐ ลูกค้า คู่ค้า ตลอดจนประชาชน
ธรรมาภิบาล สำคัญอย่างไร
ธรรมาภิบาลเป็นองค์ประกอบสำคัญของทุกองค์กร ไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชน เนื่องจาก “ ธรรมาภิบาล ” เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อกันในทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์กรอิสระ การปฏิบัติต่อกันระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่สำคัญคือ
ความโปร่งใส ( Transparency) อธิบายได้ ( accountability) และ ความรับผิดชอบ ( responsibility) องค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกับเรื่อง ธรรมาภิบาลมาตั้งแต่ต้น ศตวรรษที่ 20 ไม่ว่าจะเป็น องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ( OECD), ธนาคารโลก (the World Bank), UNDP, UNCTAD, UNIDO and ILO
ในทัศนะของธนาคารโลก ธรรมาภิบาลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของนโยบายเศรษฐกิจที่ดี ( Sound economic policies) ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารจัดการภาครัฐที่คำนึงถึง ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ รวมทั้งมี กรอบกฎหมายและนโยบายที่มีความแน่นอนและชัดเจน เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับประสิทธิภาพของระบบตลาดและการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสนใจของธนาคารโลกในเรื่องธรรมาภิบาลเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของความพยายามส่งเสริม การพัฒนาที่ยั่งยืนและเท่าเทียมกัน
ความสำคัญของธรรมาภิบาลต่อ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือที่เรียกย่อๆว่า ว่า SMEs มีผู้ประกอบการมากกว่าร้อยละ 99.5 ของผู้ประกอบการทั้งหมดของประเทศศ และมีการจ้างงานกว่าร้อยละ 70 ของการจ้างงานรวมในภาคอุตสาหกรรม แต่มีการระดมเงินทุนผ่านตลาดทุนเป็นจำนวนน้อยมาก เงินทุนที่ใช้ในการดำเนินการมากกว่าครึ่งหนึ่งมาจากการกู้ยืมสถาบันการเงิน ซึ่งต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเมื่อเทียบกับบริษัทขนาดใหญ่
ความสำคัญของ ธรรมาภิบาลในภาคเอกชน ก็คือ การสร้าง “ ความเชื่อถือ ” จากลูกค้า สถาบันการเงิน สังคม และคู่ค้า ฯลฯ เพราะทุกส่วนที่เกี่ยวข้องก็ต้องการให้ธุรกิจที่ตนจะค้าขายด้วยมีความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีจริยธรรม คุณธรรม สินค้าที่ผลิตเป็นสินค้าที่ดี มีคุณภาพ ปลอดภัย ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และไม่ค้ากำไรเกินควร เนื่องจาก มีคุณธรรมกำกับอยู่ตลอดเวลา เมื่อเป็นอย่างนี้ทุกธุรกิจ ก็จะทำให้ธุรกิจรุ่งเรืองเป็นที่เชื่อถือของลูกค้า มีกำไรสามารถพึ่งตนเองได้ทั้งในยามวิกฤตและในยามปกติ รวมทั้งสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย ไม่ว่าสถาบันใดก็อยากจะให้สินเชื่อ และให้ดอกเบี้ยที่ถูกลงเพราะเขาสามารถมั่นใจได้ว่าผู้ประกอบการมีความรับผิดชอบ การประนอมหนี้ ก็สามารถทำได้ง่าย เพราะเจ้าหนี้มีความไว้วางใจในผู้บริหารของบริษัท ประชาชนก็จะได้บริโภคสินค้าที่ปลอดภัยมีคุณภาพ สังคมก็จะอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข เพราะไม่มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน
นอกจากนี้ในภาคธุรกิจ เอส เอ็ม อี เมื่อธุรกิจเจริญเติบโต มีระบบการเงินและระบบบัญชีที่ได้มาตรฐานเป็นที่เชื่อถือ ก็สามารถนำเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อระดมทุนได้เองโดยไม่ต้องผ่านสถาบันการเงินซึ่งจะได้ต้นทุนที่ต่ำกว่าการกู้เงินจากสถาบันการเงินเสียอีก เพราะไม่ต้องเสียดอกเบี้ย ทำให้ความสามารถในการแข่งขันกับธุรกิจในต่างประเทศได้ดีขึ้น
ผลการศึกษาของนักวิชาการจากธนาคารโลก ชี้ให้เห็นว่าระดับธรรมาภิบาลสูงมีสัมพันธ์กับระดับรายได้ที่สูง
ธรรมาภิบาล ไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อเจ้าของธุรกิจที่บริหารงานเองโดยตรงดังกรณีข้างต้น แต่ยังสำคัญต่อนักลงทุน หากบริษัทไม่มีธรรมาภิบาล การเพิ่มทุนจากต่างประเทศอาจต้องประสบอุปสรรคเพราะชาวต่างชาติลังเลที่จะเข้ามามีหุ้นส่วนในบริษัท โดยไม่มีอำนาจในการบริหาร การมีธรรมาภิบาล หรือการกำกับดูแลกิจการที่ดี กล่าวคือ กรรมการทำหน้าที่เพื่อรักษาประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ ไม่ใช้ตำแหน่งในการหาประโยชน์หรือฉวยโอกาสจากบริษัทเพื่อตนเองหรือพวกพ้อง ดูแลผู้บริหารและฝ่ายจัดการให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับเงินลงทุน ให้สิทธิแก่เจ้าของเงินหรือผู้ถือหุ้นในการรับทราบข้อมูลของบริษัท การตัดสินใจเรื่องสำคัญๆรวมถึงการตรวจสอบการทำงานของกรรมการและผู้บริหาร จะทำให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่น
หลักการสากลของ “ ธรรมาภิบาล ”
องค์การสหประชาชาติ กำหนดหลักการทั่วไปของธรรมาภิบาล ไว้ 8 หลักการ ดังนี้
1. การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของสมาชิกทั้งชายหญิงคือการตัดสินใจที่สำคัญในสังคมและสร้างความสามัคคีให้เกิดกับประชาชน การมีส่วนร่วมสามารถทำได้โดยอิสระไม่มีการบังคับ สมาชิกเต็มใจให้ความร่วมมือด้วยตนเอง หรือมีส่วนร่วมผ่านหน่วยงาน สถาบันหรือผู้แทนตามระบอบประชาธิปไตย
2. การปฏิบัติตามกฏ ธรรมาภิบาลต้องการความถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ลำเอียง มีการปฏิบัติอย่างเสมอภาคและเป็นธรรมกับประชาชนโดยเท่าเทียมกัน ทุกคนในสังคมอยู่ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายเดียวกัน
3. ความโปร่งใส ความโปร่งใสเป็นการตรวจสอบความถูกต้อง มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา สิ่งนี้ช่วยแก้ปัญหาการทุจริตและคอรัปชั่นได้ทั้งในภาครัฐและเอกชน สื่อจะเข้ามีบทบาทอย่างมากในการตรวจสอบและรายงานผลงานดำเนินงานโดยการนำเสนอข่าวสารให้แก่สังคมได้รับทราบ
4. ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบเป็นการพยายามให้คนทุกฝ่ายทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุดในการทำงาน กล้าที่จะตัดสินใจและรับผิดชอบต่อผลการตัดสินใจนั้นๆ
5. ความสอดคล้อง ความสอดคล้องต้องกันเป็นการกำหนดและสรุปความต้องการของคนในสังคม ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมาก โดยพยายามหาจุดสนใจร่วมกันและความต้องการที่สอดคล้องต้องกันของสังคมมาเป็นข้อปฏิบัติเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งในสังคม การจะพัฒนาสังคมได้ ต้องทราบความต้องการที่สอดคล้องต้องกันของสังคมนั้นๆ ด้วยวิธีการเรียนรู้ วัฒนธรรมของสังคมนั้นๆก่อน
6. ความเสมอภาค ความเสมอภาคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนพึงได้รับจากรัฐบาล ทั้งการบริการด้านสวัสดิการ ตลอดจนสาธารณูปโภคด้านอื่นๆ
7. หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นวิธีการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ โดยการผลิตและจำหน่ายเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่มีคุ้มค่ากับเงินที่ลงทุนหรือการใช้ทรพยากรให้ได้ประโยชน์สูงที่สุดต่อมวลมนุษยชาติ โดยมีการพัฒนากระบวนการเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
8. การมีเหตุผล การมีเหตุผลเป็นความต้องการในทุกสังคม ประชาชนทุกคน ต้องตัดสินใจและความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองด้วยเหตุด้วยผลที่สมเหตุสมผล การมีเหตุผลไม่สามารถกระทำได้ถ้าปราศจากการปฏิบัติตามกฎหมายและความโปร่งใส
ทำอย่างไรจึงถือว่า มี “ ธรรมาภิบาล ”
การที่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จะมี “ ธรรมาภิบาล ” นั้น นอกจากต้องปฎิบัติตามกฎหมายแล้ว ต้องเอื้อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม โดยไม่ไปเบียดเบียนฝ่ายใด วิสาหกิจที่มี ธรรมาภิบาล ย่อมไม่เอาเปรียบหุ้นส่วน ไม่ขูดรีดแรงงานลูกจ้าง ไม่ฉ้อโกงลูกค้า ไม่เอาเปรียบคู่ค้า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมหรือทำร้ายชุมชนโดยรอบที่ตั้งของวิสาหกิจด้วยการก่อมลพิษ
โดยสรุป การทำธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาล ต้องยึดหลัก “ ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน ”
เอกสารอ้างอิง:
1. ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์. “ บรรษัทภิบาลกับเศรษฐกิจพอเพียง ”. เอกสารการสัมมนาวิชาการประจำปี 2542 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.thaigoernance.org
2. ศุลีมาน นฤมล วงศ์สุภาพ. “ ธรรมาภิบาล ( Good Governance) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม:ปัญหาและทางแพร่งในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนเกาะพีพี จ. กระบี่(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.sakonarea1.go.th/rnd/krusakon/article/good.pdf
3. สถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ , รางวัลธรรมาภิบาลดีเด่น 2546, สำนักงานธรรมสาร .
4. อภิชาติ สถิตนิรามัย ความคิดเปิดผนึก เข้าถึงได้จาก: www.onopen.com
5. การประชุม EXPERT MEETING ON GOOD GOVERNANCE FOR SMEs ณ กรุง เจนีวา ระหว่างวันที่ 1-2 เมษายน 2547 เข้าถึงได้จาก http://www.unece.org/indust/sme/governance.html
6. ดร. โสภณ พรโชคชัย. “ CSR คือหน้าที่ ใช่อาสา ” ThaiAppraisal Vol 5,No. 5, September-October 2006.
ผู้อำนวยการโครงการธรรมาภิบาลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือหลักธรรมาภิบาล
(GOOD GOVERNANCE)
หลักธรรมาภิบาล หมายถึง แนวทางในการจัดระเบียบเพื่อให้สังคมของประเทศทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชนและภาคประชาชน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข และตั้งอยู่ใน ความถูกต้องเป็นธรรม ตามหลักพื้นฐานการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแผนภาพ ดังนี้
1. หลักนิติธรรม (The Rule of Law)
หลักนิติธรรม หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมายมิใช่ตามอำเภอใจ หรืออำนาจของ ตัวบุคคล จะต้องคำนึงถึงความเป็นธรรม และความยุติธรรม รวมทั้งมีความรัดกุมและ รวดเร็วด้วย
2. หลักคุณธรรม (Morality)
หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริม ให้บุคลากรพัฒนาตนเอง ไปพร้อมกัน เพื่อให้บุคลากรมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย ประกอบอาชีพสุจริต เป็นนิสัย ประจำชาติ
3. หลักความโปร่งใส (Accountability)
หลักความโปร่งใส หมายถึง ความโปร่งใส พอเทียบได้ว่ามีความหมาย ตรงข้าม หรือเกือบตรงข้าม กับการทุจริต คอร์รัปชั่น โดยที่เรื่องทุจริต คอร์รัปชั่น ให้มี ความหมายในเชิงลบ และความน่าสะพรึงกลัวแฝงอยู่ ความโปร่งใสเป็นคำศัพท์ที่ให้แง่มุมในเชิงบวก และให้ความสนใจในเชิงสงบสุข ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้สะดวกและเข้าใจง่าย และมีกระบวนการให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้องอย่างชัดเจนในการนี้ เพื่อเป็น สิริมงคลแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานให้มีความโปร่งใส ขออัญเชิญพระราชกระแสรับสั่งในองค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง ได้แก่ ผู้ที่มีความสุจริต และบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ
4. หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
หลักการมีส่วนร่วม หมายถึง การให้โอกาสให้บุคลากรหรือผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมทางการ บริหารจัดการเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ เช่น เป็นคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และหรือ คณะทำงานโดยให้ข้อมูล ความคิดเห็น แนะนำ ปรึกษา ร่วมวางแผนและร่วมปฏิบัติ
5. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility )
หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิและหน้าที่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาการบริหารจัดการ การกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง รวมทั้งความกล้าที่จะยอมรับผลดีและผลเสียจากกระทำของตนเอง
6. หลักความคุ้มค่า (Cost – effectiveness or Economy)
หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยรณรงค์ให้บุคลากรมีความประหยัด ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า และรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน
ธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล (อังกฤษ: good governance) คือ การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุมดูแล กิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น
ธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำมาใช้บริหารงานในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุเพราะ ช่วยสร้างสรรค์และส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ อาทิ พนักงานต่างทำงานอย่างซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ทำให้ผลประกอบการขององค์กรธุรกิจนั้นขยายตัว นอกจากนี้แล้วยังทำให้บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อมั่นในองค์กรนั้น ๆ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส ย่อมได้รับความไว้วางใจในการร่วมทำธุรกิจ รัฐบาลที่โปร่งใสตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนและประชาชน ตลอดจนส่งผลดีต่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เป็นต้น
สำหรับบทบาทของสำนักงาน ก.พ.ร. ในเรื่องธรรมาภิบาลนั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลักในการสร้างการตระหนักในเรื่องธรรมาภิบาล โดยอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ เช่น การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การนำธรรมาภิบาลมากำหนดไว้เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ เช่น ความโปร่งใส การจัดเวทีให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม เป็นต้น
ทั้งนี้ ยังมีอีกแนวคิดหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องธรรมาภิบาล คือ ธรรมาภิบาลเป็นเรื่องการวางกลไกให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การวางโครงสร้าง ในขณะที่อีกด้านหนึ่งของเหรียญคือ เรื่องตัวบุคคล เป็นเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลเป็นการวางระบบวางโครงสร้างเพื่อควบคุมให้คนไม่ประพฤติปฏิบัติ แต่จริยธรรมจะลึกกว่านั้น โดยมีการปลูกฝังจิตสำนึก ต้องไม่ทุจริต ไม่ประพฤติมิชอบ ทั้งสองด้านจะต้องไปด้วยกันจึงจะยั่งยืน [สำการสร้างธรรมาภิบาล (Good governance)
ความนำ
ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาลได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ทั้งองค์การภาครัฐและภาคเอกชนได้ให้ความสำคัญ และนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์การ
ธรรมาภิบาลเกี่ยวข้องกับการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพสู่ประชาชน โดยมุ่งให้เกิดความเป็นอิสระในการบริหารงาน การลดการควบคุม ให้ผู้บริหารสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตามเป้าหมายสถาบันที่ทำหน้าที่บริหารงานภาครัฐ
นอกจากจะต้องกำหนดบทบาทของตนอย่างชัดเจนแล้ว มีความพร้อมที่จะถูกตรวจสอบ ต่อแนวทางการใช้อำนาจในการดำเนินงาน ส่วนในองค์การภาคเอกชนก็เช่นเดียวกันที่หันมาให้ความสนใจ ในเรื่องของบรรษัทภิบาล Coporate good governance
วิธีการและเป้าหมายของการปฏิรูประบบการบริหารของส่วนราชการ
จะใช้ธรรมาภิบาลเป็นเสมือนเครื่องมือในการพัฒนาขีดความสามารถโดยมีการส่งเสริมบทบาทให้เกิดการทำงานที่ปราศจากการคอร์รัปชั่น หรือการไม่นำผลประโยชน์ของสาธารณะมาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว
มีการใช้หลักนิติธรรมในการดำเนินงาน หรือสร้างกรอบในการดำเนินงานเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับหลักนิติธรรม ลดกฎระเบียบที่มากจนเกินไป ที่เป็นต้นเหตุของการทำงานที่ล่าช้า มีการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจนเพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม มีกระบวนการตัดสินใจที่โปร่งใส มีกฏ กติกา มารยาท ในการบริหารงาน
ความหมายของธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน
ซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการและฝ่ายธุรกิจสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีความรู้รักสามัคคีและร่วมกันเป็นพลังก่อให้เกิดการพัฒนาอย่งยั่งยึน และเป็นส่วนเสริมความเข้มแข็งหรือสร้างภูมิคุ้มกันแก่ประเทศ
เพื่อบรรเทาป้องกัน หรือแก้ไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายที่หากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรู้สึกถึงความยุติธรรม ความโปร่งใส และความมีส่วนร่วม อันเป็นคุณลักษณะสำคัญของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สอดคล้องกับความเป็นไทย รัฐธรรมนูญ และกระแสโลกยุคปัจจุบัน (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542)
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างธรรมาภิบาล
การส่งเสริมให้เกิดการสร้างธรรมาภิบาลนั้น มาจากความร่วมมือของทั้งสถาบันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม
บทบาทของรัฐที่สำคัญนั้น คือรัฐเป็นผู้มีบทบาทในการวางรากฐาน และรักษากฎระเบียบต่าง ๆ การสร้างธรรมาภิบาลของรัฐนั้นจำเป็นต้องอาศัยระบบการจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีภาระรับผิดชอบภายใต้กฎหมาย และนโยบายที่โปร่งใสตรวจสอบได้
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องมีการปฏิรูประบบราชการเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และรับผิดชอบภายใต้กรอบของกฎหมาย
ซึ่งจุดมุ่งหมายในการสร้างธรรมาภิบาลของภาครัฐนั้นจะต้องพยายามปฏิรูปการบริหารจัดการให้ถูกต้องตามหลักเหตุผล และหน้าที่ มีระบบความรับผิดชอบด้านการเงินที่มีประสิทธิภาพมาใช้ และให้มีความโปร่งในการปฏิบัติงาน ยกระดับความชำนาญของภาครัฐให้มีความทันสมัย เป็นต้น
ส่วนบทบาทขององค์การภาคเอกชน และบทบาทของประชาสังคมที่มีต่อการสร้างธรรมาภิบาล คือ การรวมตัวกันของสาธารณชนในการต่อต้านการทุจริตและการประพฤติมิชอบ โดยรัฐควรมีการหามาตรการที่จะกระตุ้นให้เกิดการตระหนักถึงการทำผิดจรรยาบรรณ เป็นต้น
หลักการพื้นฐานของการสร้างธรรมาภิบาล
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 ระบุว่าธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบ 6 ประกอบ คือ
1.หลักนิติธรรม ได้แก่ การตรากฏหมาย กฎ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับเหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมายมิใช่ตามอำเภอใจ หรือตามอำนาจของตัวบุคคล
2.หลักความโปร่งใส ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวกเป็นจริง ทันการณ์ ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียมมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้
3. หลักการมีส่วนร่วม ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศ ในด้านต่าง ๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทำนั้น
4. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ได้แก่ ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้เป็นการสร้างกลไกให้มีผู้รับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาตลอดจนการเคาระในความคิดเห็นที่แตกต่างและความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทำของตน
5.หลักความคุ้มค่า ได้แก่ การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
6. หลักคุณธรรม ได้แก่ การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม สำนึกในหน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผู้อื่น
การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
การบริหารงานในรูปแบบของธรรมาภิบาลนั้นจะเน้นที่การเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มั่นคง ไม่ล้มละลาย ไม่เสี่ยงต่อความเสียหาย พนักงานมีความมั่นใจในองค์การว่าสามารถปฏิบัติงานในองค์การได้ในระยะยาว การนำธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารนั้น เพื่อให้องค์การมีความน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากสังคม
ปัจจุบันการบริหารงานในภาครัฐได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างมากในเรื่องของความโปร่งใสในการดำเนินงาน ดังนั้นการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในหน่วยงานของรัฐก็เพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อถือศรัทธาว่าปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริต คอรัปชั่นของหน่วยงานภาครัฐจะลดลง ซึ่งสิ่งที่จำเป็นในการบริหารงานของหน่วยงานในภาครัฐ ได้แก่
1. ภาระรับผิดชอบตรวจสอบได้
2. ความโปร่งใส
3. การปราบปรามการทุจริตและการประพฤติมิชอบ
4. การสร้างการมีส่วนร่วม
5. การสร้างกรอบทางกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
6. การตอบสนองที่ทันการ
7. ความเห็นชอบร่วมกัน
8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง
1. ความรับผิดชอบตรวจสอบได้
ความรับผิดชอบ คือ บุคคล องค์การ และผู้ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ ซึ่งหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานภาครัฐ ต้องมีภาระความรับผิดชอบต่อสาธารณะเกี่ยวกับการกระทำ กิจกรรม หรือการตัดสินใจใด ๆ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อสาธารณะ ความรับผิดชอบที่กล่าวมา หมายถึง การเปิดเผยข้อมูล การมีความยุติธรรม ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค และตรวจสอบได้ โปร่งใส และดำเนินการภายใต้กรอบของกฎหมาย
2. ความโปร่งใส
ความโปร่งใส หมายถึง การตัดสินใจและการดำเนินการต่าง ๆ อยู่บนกฎระเบียบชัดเจน การดำเนินงานของรัฐบาลในด้านนโยบายต่าง ๆ นั้น สาธารณะชนสามารถรับทราบ และมีความมั่นใจได้ว่าการดำเนินงานของรัฐนั้นมาจากความตั้งใจในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายของนโยบาย
3. การปราบปราบทุจริตและการประพฤติมิชอบ
การที่องค์การภาครัฐใช้อำนาจหน้าที่หรือการแสวงหาผลประโยชน์ในทางส่วนตัว เหล่านี้ถือเป็นการทุจริต และการประพฤติมิชอบทั้งต่อองค์การภาครัฐเองและองค์การในภาคเอกชน การปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานและการทำให้เกิดความโปร่งใส รวมไปถึงการปฏิรูประบบราชการจะเป็นเครื่องมือในการปราบปรามการฉ้อฉล และเสริมสร้างธรรมาภิบาล
4. การสร้างการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้กับประชาชน หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทในการตัดสินใจดำเนินนโยบาย มีส่วนร่วมในการควบคุมการปฏิบัติงานของสถาบัน การมีส่วนร่วมจะก่อให้เกิดกระบวนการตรวจสอบ และเรียกร้องในกรณีที่เกิดความสงสัยในกระบวนการทำดำเนินงานของรัฐได้เป็นอย่างดี
5. การมีกฎหมายที่เข้มแข็ง
ธรรมาภิบาลมีพื้นฐานการดำเนินการอยู่บนกรอบของกฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบัติ มีการให้ความเสมอภาคเท่าเทียม และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย มีกฎหมายที่เข้มแข็ง มีการระบุการลงโทษที่ชัดเจนและมีผลบังคับใช้ได้จะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาระบบการปกครองเพื่อป้องกันการละเมิด หรือฝ่าฝืน การมีระบบกฎหมายที่ดีจะส่งเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรม
6. การตอบสนองที่ทันการ
ธรรมาภิบาล หมายถึง การให้การตอบสนองที่ทันการต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในเวลาที่ทันการ
7. ความเห็นชอบร่วมกัน
สังคมที่ประกอบด้วยบุคคลที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันไป ธรรมาภิบาลจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานความต้องการที่แตกต่างให้บนพื้นฐานของประโยชน์ส่วนรวมและขององค์การเป็นหลัก
8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในหลักธรรมาภิบาลนั้น ต้องการให้มีการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่า
9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง
หลักธรรมาภิบาลจะเน้นให้บุคลากรทุกคนในองค์การรู้สึกมีส่วนร่วมหรือรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับองค์การ บุคคลสามารถมีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมหลักที่จะช่วยสร้างความเติบโตให้กับหน่วยงาน
สรุป
การใช้หลักธรรมภิบาลทำให้องค์การสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานได้ อีกทั้งยังเป็นกลไกในการควบคุมติดตาม และตรวจสอบ โดยมีประชาชน หรือองค์การภายนอกมีส่วนร่วม
ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่การบริหารองค์การ เพราะการสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นในองค์การเป็นการสร้างสำนึกที่ดีในการบริหารงาน และการทำงานในองค์การ และจัดระบบที่สนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามสำนึกที่ดี
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพไม่สิ้นเปลือง การติดตามการทุจริต ความโปร่งใส โดยคำนึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ เนื่องจากผู้ทีได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐนั้นจะเกี่ยวข้องกับประชาชนโดยตรง
นักงาน ก.พ.ร.]
ธรรมาภิบาล คืออะไร?
“ ธรรมาภิบาล ” กำลังเป็นเรื่องที่พูดถึงกันบ่อย และเป็นเรื่องที่ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานและการปกครอง วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ควรทำความรู้จักในเรื่องนี้ เนื่องจากแนวทางประชาคมโลกหันมาสนใจกับกระแสโลกาภิวัฒน์และการบริหารจัดการที่ดีมากขึ้นแทนการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเดียว
ธรรมาภิบาลคืออะไร
“ ธรรมาภิบาล ” แปลจากภาษาอังกฤษว่า “ good governance” หมายถึง การบริหารบ้านเมืองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรมบางครั้ง ภาคเอกชน จะใช้คำว่า “ บรรษัทภิบาล ” หรือ “ การกำกับดูแลกิจการที่ดี ” แปลจากภาษาอังกฤษ “ corporate governance” หรือ “ corporate social responsibility” รวมทั้งคำย่อที่มักเรียกสั้นๆว่า “CG” หรือ “ CSR” ล้วนมีความหมายใกล้เคียงกัน
ธรรมาภิบาลในภาคเอกชน หมายความถึง การบริหารจัดการธุรกิจที่เป็นธรรมและโปร่งใส โดยที่ผู้มีอำนาจบริหารจัดการธุรกิจนั้นๆ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และผลการกระทำของตนต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัททุกราย รวมถึงผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ พนักงาน รัฐ ลูกค้า คู่ค้า ตลอดจนประชาชน
ธรรมาภิบาล สำคัญอย่างไร
ธรรมาภิบาลเป็นองค์ประกอบสำคัญของทุกองค์กร ไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชน เนื่องจาก “ ธรรมาภิบาล ” เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อกันในทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์กรอิสระ การปฏิบัติต่อกันระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่สำคัญคือ
ความโปร่งใส ( Transparency) อธิบายได้ ( accountability) และ ความรับผิดชอบ ( responsibility) องค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกับเรื่อง ธรรมาภิบาลมาตั้งแต่ต้น ศตวรรษที่ 20 ไม่ว่าจะเป็น องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ( OECD), ธนาคารโลก (the World Bank), UNDP, UNCTAD, UNIDO and ILO
ในทัศนะของธนาคารโลก ธรรมาภิบาลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของนโยบายเศรษฐกิจที่ดี ( Sound economic policies) ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารจัดการภาครัฐที่คำนึงถึง ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ รวมทั้งมี กรอบกฎหมายและนโยบายที่มีความแน่นอนและชัดเจน เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับประสิทธิภาพของระบบตลาดและการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสนใจของธนาคารโลกในเรื่องธรรมาภิบาลเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของความพยายามส่งเสริม การพัฒนาที่ยั่งยืนและเท่าเทียมกัน
ความสำคัญของธรรมาภิบาลต่อ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือที่เรียกย่อๆว่า ว่า SMEs มีผู้ประกอบการมากกว่าร้อยละ 99.5 ของผู้ประกอบการทั้งหมดของประเทศศ และมีการจ้างงานกว่าร้อยละ 70 ของการจ้างงานรวมในภาคอุตสาหกรรม แต่มีการระดมเงินทุนผ่านตลาดทุนเป็นจำนวนน้อยมาก เงินทุนที่ใช้ในการดำเนินการมากกว่าครึ่งหนึ่งมาจากการกู้ยืมสถาบันการเงิน ซึ่งต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเมื่อเทียบกับบริษัทขนาดใหญ่
ความสำคัญของ ธรรมาภิบาลในภาคเอกชน ก็คือ การสร้าง “ ความเชื่อถือ ” จากลูกค้า สถาบันการเงิน สังคม และคู่ค้า ฯลฯ เพราะทุกส่วนที่เกี่ยวข้องก็ต้องการให้ธุรกิจที่ตนจะค้าขายด้วยมีความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีจริยธรรม คุณธรรม สินค้าที่ผลิตเป็นสินค้าที่ดี มีคุณภาพ ปลอดภัย ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และไม่ค้ากำไรเกินควร เนื่องจาก มีคุณธรรมกำกับอยู่ตลอดเวลา เมื่อเป็นอย่างนี้ทุกธุรกิจ ก็จะทำให้ธุรกิจรุ่งเรืองเป็นที่เชื่อถือของลูกค้า มีกำไรสามารถพึ่งตนเองได้ทั้งในยามวิกฤตและในยามปกติ รวมทั้งสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย ไม่ว่าสถาบันใดก็อยากจะให้สินเชื่อ และให้ดอกเบี้ยที่ถูกลงเพราะเขาสามารถมั่นใจได้ว่าผู้ประกอบการมีความรับผิดชอบ การประนอมหนี้ ก็สามารถทำได้ง่าย เพราะเจ้าหนี้มีความไว้วางใจในผู้บริหารของบริษัท ประชาชนก็จะได้บริโภคสินค้าที่ปลอดภัยมีคุณภาพ สังคมก็จะอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข เพราะไม่มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน
นอกจากนี้ในภาคธุรกิจ เอส เอ็ม อี เมื่อธุรกิจเจริญเติบโต มีระบบการเงินและระบบบัญชีที่ได้มาตรฐานเป็นที่เชื่อถือ ก็สามารถนำเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อระดมทุนได้เองโดยไม่ต้องผ่านสถาบันการเงินซึ่งจะได้ต้นทุนที่ต่ำกว่าการกู้เงินจากสถาบันการเงินเสียอีก เพราะไม่ต้องเสียดอกเบี้ย ทำให้ความสามารถในการแข่งขันกับธุรกิจในต่างประเทศได้ดีขึ้น
ผลการศึกษาของนักวิชาการจากธนาคารโลก ชี้ให้เห็นว่าระดับธรรมาภิบาลสูงมีสัมพันธ์กับระดับรายได้ที่สูง
ธรรมาภิบาล ไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อเจ้าของธุรกิจที่บริหารงานเองโดยตรงดังกรณีข้างต้น แต่ยังสำคัญต่อนักลงทุน หากบริษัทไม่มีธรรมาภิบาล การเพิ่มทุนจากต่างประเทศอาจต้องประสบอุปสรรคเพราะชาวต่างชาติลังเลที่จะเข้ามามีหุ้นส่วนในบริษัท โดยไม่มีอำนาจในการบริหาร การมีธรรมาภิบาล หรือการกำกับดูแลกิจการที่ดี กล่าวคือ กรรมการทำหน้าที่เพื่อรักษาประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ ไม่ใช้ตำแหน่งในการหาประโยชน์หรือฉวยโอกาสจากบริษัทเพื่อตนเองหรือพวกพ้อง ดูแลผู้บริหารและฝ่ายจัดการให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับเงินลงทุน ให้สิทธิแก่เจ้าของเงินหรือผู้ถือหุ้นในการรับทราบข้อมูลของบริษัท การตัดสินใจเรื่องสำคัญๆรวมถึงการตรวจสอบการทำงานของกรรมการและผู้บริหาร จะทำให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่น
หลักการสากลของ “ ธรรมาภิบาล ”
องค์การสหประชาชาติ กำหนดหลักการทั่วไปของธรรมาภิบาล ไว้ 8 หลักการ ดังนี้
1. การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของสมาชิกทั้งชายหญิงคือการตัดสินใจที่สำคัญในสังคมและสร้างความสามัคคีให้เกิดกับประชาชน การมีส่วนร่วมสามารถทำได้โดยอิสระไม่มีการบังคับ สมาชิกเต็มใจให้ความร่วมมือด้วยตนเอง หรือมีส่วนร่วมผ่านหน่วยงาน สถาบันหรือผู้แทนตามระบอบประชาธิปไตย
2. การปฏิบัติตามกฏ ธรรมาภิบาลต้องการความถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ลำเอียง มีการปฏิบัติอย่างเสมอภาคและเป็นธรรมกับประชาชนโดยเท่าเทียมกัน ทุกคนในสังคมอยู่ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายเดียวกัน
3. ความโปร่งใส ความโปร่งใสเป็นการตรวจสอบความถูกต้อง มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา สิ่งนี้ช่วยแก้ปัญหาการทุจริตและคอรัปชั่นได้ทั้งในภาครัฐและเอกชน สื่อจะเข้ามีบทบาทอย่างมากในการตรวจสอบและรายงานผลงานดำเนินงานโดยการนำเสนอข่าวสารให้แก่สังคมได้รับทราบ
4. ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบเป็นการพยายามให้คนทุกฝ่ายทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุดในการทำงาน กล้าที่จะตัดสินใจและรับผิดชอบต่อผลการตัดสินใจนั้นๆ
5. ความสอดคล้อง ความสอดคล้องต้องกันเป็นการกำหนดและสรุปความต้องการของคนในสังคม ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมาก โดยพยายามหาจุดสนใจร่วมกันและความต้องการที่สอดคล้องต้องกันของสังคมมาเป็นข้อปฏิบัติเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งในสังคม การจะพัฒนาสังคมได้ ต้องทราบความต้องการที่สอดคล้องต้องกันของสังคมนั้นๆ ด้วยวิธีการเรียนรู้ วัฒนธรรมของสังคมนั้นๆก่อน
6. ความเสมอภาค ความเสมอภาคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนพึงได้รับจากรัฐบาล ทั้งการบริการด้านสวัสดิการ ตลอดจนสาธารณูปโภคด้านอื่นๆ
7. หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นวิธีการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ โดยการผลิตและจำหน่ายเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่มีคุ้มค่ากับเงินที่ลงทุนหรือการใช้ทรพยากรให้ได้ประโยชน์สูงที่สุดต่อมวลมนุษยชาติ โดยมีการพัฒนากระบวนการเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
8. การมีเหตุผล การมีเหตุผลเป็นความต้องการในทุกสังคม ประชาชนทุกคน ต้องตัดสินใจและความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองด้วยเหตุด้วยผลที่สมเหตุสมผล การมีเหตุผลไม่สามารถกระทำได้ถ้าปราศจากการปฏิบัติตามกฎหมายและความโปร่งใส
ทำอย่างไรจึงถือว่า มี “ ธรรมาภิบาล ”
การที่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จะมี “ ธรรมาภิบาล ” นั้น นอกจากต้องปฎิบัติตามกฎหมายแล้ว ต้องเอื้อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม โดยไม่ไปเบียดเบียนฝ่ายใด วิสาหกิจที่มี ธรรมาภิบาล ย่อมไม่เอาเปรียบหุ้นส่วน ไม่ขูดรีดแรงงานลูกจ้าง ไม่ฉ้อโกงลูกค้า ไม่เอาเปรียบคู่ค้า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมหรือทำร้ายชุมชนโดยรอบที่ตั้งของวิสาหกิจด้วยการก่อมลพิษ
โดยสรุป การทำธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาล ต้องยึดหลัก “ ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน ”
เอกสารอ้างอิง:
1. ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์. “ บรรษัทภิบาลกับเศรษฐกิจพอเพียง ”. เอกสารการสัมมนาวิชาการประจำปี 2542 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.thaigoernance.org
2. ศุลีมาน นฤมล วงศ์สุภาพ. “ ธรรมาภิบาล ( Good Governance) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม:ปัญหาและทางแพร่งในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนเกาะพีพี จ. กระบี่(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.sakonarea1.go.th/rnd/krusakon/article/good.pdf
3. สถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ , รางวัลธรรมาภิบาลดีเด่น 2546, สำนักงานธรรมสาร .
4. อภิชาติ สถิตนิรามัย ความคิดเปิดผนึก เข้าถึงได้จาก: www.onopen.com
5. การประชุม EXPERT MEETING ON GOOD GOVERNANCE FOR SMEs ณ กรุง เจนีวา ระหว่างวันที่ 1-2 เมษายน 2547 เข้าถึงได้จาก http://www.unece.org/indust/sme/governance.html
6. ดร. โสภณ พรโชคชัย. “ CSR คือหน้าที่ ใช่อาสา ” ThaiAppraisal Vol 5,No. 5, September-October 2006.
ผู้อำนวยการโครงการธรรมาภิบาลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือหลักธรรมาภิบาล
(GOOD GOVERNANCE)
หลักธรรมาภิบาล หมายถึง แนวทางในการจัดระเบียบเพื่อให้สังคมของประเทศทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชนและภาคประชาชน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข และตั้งอยู่ใน ความถูกต้องเป็นธรรม ตามหลักพื้นฐานการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแผนภาพ ดังนี้
1. หลักนิติธรรม (The Rule of Law)
หลักนิติธรรม หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมายมิใช่ตามอำเภอใจ หรืออำนาจของ ตัวบุคคล จะต้องคำนึงถึงความเป็นธรรม และความยุติธรรม รวมทั้งมีความรัดกุมและ รวดเร็วด้วย
2. หลักคุณธรรม (Morality)
หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริม ให้บุคลากรพัฒนาตนเอง ไปพร้อมกัน เพื่อให้บุคลากรมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย ประกอบอาชีพสุจริต เป็นนิสัย ประจำชาติ
3. หลักความโปร่งใส (Accountability)
หลักความโปร่งใส หมายถึง ความโปร่งใส พอเทียบได้ว่ามีความหมาย ตรงข้าม หรือเกือบตรงข้าม กับการทุจริต คอร์รัปชั่น โดยที่เรื่องทุจริต คอร์รัปชั่น ให้มี ความหมายในเชิงลบ และความน่าสะพรึงกลัวแฝงอยู่ ความโปร่งใสเป็นคำศัพท์ที่ให้แง่มุมในเชิงบวก และให้ความสนใจในเชิงสงบสุข ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้สะดวกและเข้าใจง่าย และมีกระบวนการให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้องอย่างชัดเจนในการนี้ เพื่อเป็น สิริมงคลแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานให้มีความโปร่งใส ขออัญเชิญพระราชกระแสรับสั่งในองค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง ได้แก่ ผู้ที่มีความสุจริต และบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ
4. หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
หลักการมีส่วนร่วม หมายถึง การให้โอกาสให้บุคลากรหรือผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมทางการ บริหารจัดการเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ เช่น เป็นคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และหรือ คณะทำงานโดยให้ข้อมูล ความคิดเห็น แนะนำ ปรึกษา ร่วมวางแผนและร่วมปฏิบัติ
5. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility )
หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิและหน้าที่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาการบริหารจัดการ การกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง รวมทั้งความกล้าที่จะยอมรับผลดีและผลเสียจากกระทำของตนเอง
6. หลักความคุ้มค่า (Cost – effectiveness or Economy)
หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยรณรงค์ให้บุคลากรมีความประหยัด ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า และรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน
วันพุธที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ที่นั่นมนุษย์ต่างดาวให้เขาดูจอภาพ อันเป็นภาพเกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และกาแล็คซี่ของเรา
มนุษย์ต่างดาวบอกว่า ในวันที่ 22 ธันวาคม 2012 ( พ.ศ. 2555 ) จะเกิดปรากฎการณ์ในอวกาศครั้งใหญ่ ซึ่งจะมีผลกระทบไปทั้งจักรวาล
ในวันนั้นแกแล็คซี่จะส่งแสงวาบเจิดจ้าออกมาก ดวงอาทิตย์ทุกดวงในแกแล็คซี่ จะสะท้อนแสงนั้นไปยังดาวเคราะห์ที่โคจรรอบตัวมัน
สิ่งมีชีวิตทั้งมวลอันมีดวงตาจะได้เห็นแสงเจิดจ้านี้ทั่วหน้ากัน โลกของเราจะปั่นป่วน ด้วยพายุสุริยะทั้งแสงอาทิตย์ก็จะร้อนจัดขึ้น
จะเกิดอาเพศขึ้นทั่วทั้งจักรวาลในวันนั้นจะเป็นจริงหรือไม่
น่าแปลกที่ว่า วันที่ 22 ธันวาคม 2012 นั้นเป็นวันสุดท้ายในปฏิทินของชาวมายาอีกด้วย
และ มนุษย์ต่างดาว ชื่อ “พาราซิทัล”
(โอ้ว อ้างอิงชื่อด้วย ระวังท่าน พาราซิทัล ฟ้องเอานะ อิอิ)
ได้บอกล่วงหน้าว่า ในที่สุดประเทศไทย จะกลับไปสู่สภาพเดิมเหมือนแต่ก่อน คือ
แผ่นดินเหลือ 3 แห่ง ที่เหลือจะกลับไปอยู่ใต้น้ำทะเลทั้งสิ้น!!!…..
ใน 5 ส่วน เหลือ 3 ส่วนตรงส่วนบน-กลาง-และล่างสุด ส่วนที่หายไป คือ ภาคกลางเกือบทั้งหมดรวมทั้งกรุงเทพและปริมณฑล และภาคใต้ตอนล่าง
และเหตุการณ์จะเกิดขึ้น 4 ปีข้างหน้า
อีก 4 ปี. . . . . . เตรียมพร้อมหรือยัง??
ตื่นเต้นหรือเปล่า ที่เราอาจจะได้เจอกัน??. . (เราอะตื่นเต้น)
ถ้าต้องย้ายดาว จะเอาอะไรไปด้วย??
แล้วจะทำอะไรบนโลกก่อนย้ายดาว??
ดาวภายภาคหน้า (ที่เหมาะกับคุณ) หน้าตาจะเป็นอย่างไร เราไม่สามารถบอกคุณได้
(ท่าน “พาราซิทุส” ห้ามไว้)
ดาวมีหลากหลาย ดาวมีหลายดวง. . .
มันก็มีดวง ดวง หนึ่ง ชื่อ “ดาวแห่งความตาย” . . . . .
จริง จริง มันก็แค่ดาว ดวง หนึ่ง เท่านั้นเอง
ข้อมูลข้างต้น อ้างอิงมาจาก
- นายไมเคิล กอร์ดอน สแกลอน : Future Map Of The World
- ท่าน ศ.ดร.นพ.เทพนม เมืองแมน
- ท่าน มนุษย์ต่างดาว ชื่อ “พาราซิทัล”
(ปล. โปรดใช้จินตนาการ เอ้ย วิจารณญาณในการชมนะค่ะ)
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ข่าวเกี่ยวกับ องค์การนาซ่า
“อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา” อดีตนักวิทยาศาสตร์องค์การนาซ่า แนะ ภายใน 6 ปีรัฐบาลต้องเริ่มคิดย้ายเมืองหลวงได้แล้ว คาดอีก 30 ปีข้างหน้า ภาคกลางของไทยจมใต้ทะเล ตรงกับข้อมูลนาซ่า ที่ระบุว่าระดับน้ำทะเลของไทยจะสูงขึ้น 7 เมตร...
วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
พายุหมุน
พายุทอร์นาโด (Tornado
5วอร์เทกซ์ไม้ขีดไฟ (Match Vortex) : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้น เมื่อมีการจุดไม้ขีดไฟ
4วอร์เทกซ์ด้านหลังเกาะ : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้น ด้านหลังเกาะ ที่ขวางการไหลของกระแสน้ำ
3พายุไต้ฝุ่น (Typhoon)
2เวควอร์เทกซ์ (Wake Vortex) : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้นด้านหลังของเครื่องบิน ในภาพจะเห็นวงม้วนเกลียวของควันสีแดง ที่เกิดขึ้นเมื่อเครื่องบินทะยานขึ้นสู่อากาศ
1น้ำวน (Whirlpool)
วอร์เทกซ์ พายุหมุน และ อุปกรณ์จำลองพายุหมุน
วอร์เทกซ์ แปลได้ง่ายๆ ตรงตัว ว่า "มวลสารที่หมุนวน" เมื่อมีมวลอะไรก็ตาม ที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม หรือเคลื่อนที่ในลักษณะหมุนวน เราจะเหมารวมเรียกว่าเป็น "วอร์เทกซ์ (Vortex)" ทั้งสิ้น
วอร์เทกซ์สามารถเกิดในธรรมชาติก็ได้ หรือเกิดโดยน้ำมือของมนุษย์ ก็ได้เช่นกัน เราแบ่งประเภทของวอร์เทกซ์ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ :
5วอร์เทกซ์ไม้ขีดไฟ (Match Vortex) : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้น เมื่อมีการจุดไม้ขีดไฟ
4วอร์เทกซ์ด้านหลังเกาะ : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้น ด้านหลังเกาะ ที่ขวางการไหลของกระแสน้ำ
3พายุไต้ฝุ่น (Typhoon)
2เวควอร์เทกซ์ (Wake Vortex) : เป็นวอร์เทกซ์ที่เกิดขึ้นด้านหลังของเครื่องบิน ในภาพจะเห็นวงม้วนเกลียวของควันสีแดง ที่เกิดขึ้นเมื่อเครื่องบินทะยานขึ้นสู่อากาศ
1น้ำวน (Whirlpool)
วอร์เทกซ์ พายุหมุน และ อุปกรณ์จำลองพายุหมุน
วอร์เทกซ์ แปลได้ง่ายๆ ตรงตัว ว่า "มวลสารที่หมุนวน" เมื่อมีมวลอะไรก็ตาม ที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม หรือเคลื่อนที่ในลักษณะหมุนวน เราจะเหมารวมเรียกว่าเป็น "วอร์เทกซ์ (Vortex)" ทั้งสิ้น
วอร์เทกซ์สามารถเกิดในธรรมชาติก็ได้ หรือเกิดโดยน้ำมือของมนุษย์ ก็ได้เช่นกัน เราแบ่งประเภทของวอร์เทกซ์ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ :
สารเสพติด
ฟความหมายของยาเสพติด
ยาเสพติดมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายอาชีพ จึงมีผู้ให้ความหมายแตกต่างกัน ตามความเกี่ยวพันของยาเสพติดที่มีต่อวิชาชีพของบุคคลนั้นๆ เช่น ยาเสพติดใน
ความหมาย ของเภสัชกร คือ สิ่งที่ก่อให้เกิดพิษเรื้อรัง และปรากฏอาการของโรคอย่างชัดเจน ภายหลังเมื่อหยุดเสพ แต่
ความหมาย ในทัศนะของนักสังคมสงเคราะห์ คือสิ่งที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนในสังคม
ความหมาย ในทัศนะของนักกฎหมาย คือสิ่งที่ทำให้เกิดพิษ และพิษของมันเป็นต้นเหตุแห่งอาชญากรรม
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงพอให้ความหมายโดยทั่วไปและความหมายตามกฎหมายดังนี้
ความหมายโดยทั่วไป หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์ของธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพหรือรับเข้าสู่ร่างกายซ้ำๆ กันแล้ว ไม่ว่าโดยวิธีการใดๆ เป็นช่วงระยะๆ หรือนานติดต่อกันก็ตามจะทำให้บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อิทธิพลของสารนั้น ทางด้านจิตใจหรือรวมทั้งทางด้านร่างกายและอาจต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้สุขภาพของผู้เสพนั้นเสื่อมโทรมลง ประการสำคัญ เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพและจะมีอาการผิดปกติทางด้านจิตใจหรือรวมทั้งทางด้านร่างกาย เมื่อไม่ได้เสพ
ความหมายของพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 "ยาเสพติดให้โทษ" หมายถึง ยา หรือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ หรือพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธีกิน ดม สูบ หรือ ฉีดแล้วจะทำให้เกิดผลต่อร่างกาย และจิตใจ ในลักษณะสำคัญ ดังนี้
1. ต้องเพิ่มขนาดการเสพมากขึ้นเรื่อยๆ
2. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกาย และจิตใจ อย่างรุนแรง ตลอดเวลา
3. เมื่อถึงเวลาเสพแต่ไม่ได้เสพ จะทำให้เกิดอาการขาดยา
4. สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง
ชนิดของยาเสพติด
ยาเสพติด สามารถแบ่งได้ ตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
ก. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ได้แก่
1. ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตได้มาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา
2. ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน
ข. แบ่งตามพราะราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้แก่
ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงไม่เป็นประโชน์ทางการแพทย์ เช่น เฮโอีน (Heroin) แอมเฟตามีน (Amphetamine) เมทแอมเฟตามีน (Metham phetamine) แอลเอสดี (LSD) เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) หรือ MDMA
ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น ฝิ่น (Opium) มอร์ฟีน (Morphine) โคเคนหรือโคคาอีน เมทาโดน (Methadone)
ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเดอีนผสมอยู่
ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อะเซติคแอนไฮไดรด์ (Aceticanhydride) อะเซติลคลอไรด์ (Acetylchloride) เอทิลิดีนไดอาเซเตด (Ethylidinediacetate) ไลเซอร์จิค อาซิค (Lysergic Acid)
ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น พืชกัญชา พืชกระท่อม พืชผิ่น (ซึ่งหมายความรวมถึงพันธุ์ฝิ่น เมล็ดฝิ่น กล้าฝิ่น ฟางฝิ่น พืชเห็ดขี้ควาย)
ค. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ได้แก่
1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท สารระเหย
2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคคาอีน
3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดขี้ควาย
4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาร (อาจกด กระตุ้นหรือหลอนประสทร่วมกัน) เช่น กัญชา
ง. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก
องค์การอนามัยโลกได้จัดแบ่งยาเสพติดออกเป็น 9 ประเภท ได้แก่
1. ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน เช่น ฝิ่น มอร์พีน เฮโรอีน เพธิดีน
2. ประเภทบาบิทูเรทรวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน เช่น เซโคบาร์บิตาล อะโมบาร์บิตาล พาราลดีไฮล์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม คลอไดอาชีพอกไซด์
3. ประเภทแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้
4. ประเภทแอมเฟตามีน เช่น แอมเฟตามีน เดกซ์แอมเฟตามีน
5. ประเภทโคเคน เช่น โคเคนใบโคคา
6. ประเภทกัญชา เช่น ใบกัญชา ยางกัญชา
7. ประเภทคัท เช่น ใบคัท ใบกระท่อม
8. ประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เมสคาลีน เมล็ดมอร์นิ่งโกลลี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด
9. ประเภทอื่นๆ เป็นพวกที่ไม่สามารถเข้าประเภทใดได้ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด บุหรี่
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
ฝิ่น (Opium)
ฝิ่น เป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ในเนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมายประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์ เป็นแอลคะอลยด์ (Alhaloid) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฝิ่นกลายเป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง แอลคะลอยด์ ในฝิ่นแบ่งแยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์ทำให้เกิดอาการมึนเมา และเป็นยาเสพติดให้โทษโดยตรงแอลคะลอยด์ประเภทนี้ทางเภสัชวิทยา ถือว่า เป็นยาทำให้นอนหลับ (Hypnotic) แอลคะลอยด์ที่เป็นสารเสพติดซึ่งออกฤทธิ์ตัวสำคัญที่สุดในฝิ่น คือ มอร์ฟีน (Morphine)
ประเภทที่ 2 ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อหย่อนคลายตัว ซึ่งในทางเภสัชวิทยาถือว่า แอลคะลอยด์ ในฝิ่นประเภทนี้ ไม่เป็นสารเสพติด แต่มีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายหย่อนคลายตัว ซึ่งมีปาเวอร์รีน (Papaverine) เป็นตัวสำคัญ
ฝิ่นเป็นพืชล้มลุกขึ้นในที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 3,000 ฟุตขึ้นไป เป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีนและโคเดอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่นมากทางภาคเหนือของประเทศไทย บริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำ
เนื้อฝิ่นได้มาจากยางของผลฝิ่น ที่ถูกกรีดจะมีสีขาว เมื่อถูกอากาศจะมีสีคล้ำลง กลายเป็นยางเหนียวสีน้ำตาลไหม้ หรือดำ มีกลิ่นเหม็นเขียว และรสขม เรียกว่า ฝิ่นดิบ ส่วนฝิ่นที่มี การนำมาใช้เสพ เรียกว่า ฝิ่นสุก ได้มาจากการนำฝิ่นดิบไปต้มหรือเคี่ยวจนสุข
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ฝิ่นออกฤทธิ์กดระบบประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ
มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
จิตใจเลื่อยลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิดเชื่องช้า ไม่รู้สึกหิว ชีพจรเต้นช้า
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (เฮโรอีน) / การบรรจุเฮโรอีน / การเลิกเสพเฮโรอีน
เฮโรอีน (Heroin)
เฮโรอีน เป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมีจากปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic anhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl chloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตต (Ethylidene diacetate) โดยนักวิจัยชาวอังกฤษ ชื่อ C.R. Wright ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์ เฮโรอีนจากมอร์ฟีนโดยใช้น้ำยาอาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic anhydride) และบริษัทผลิตยาไบเออร์ (Bayer) ได้นำมาผลิตเป็นยาออกสู่ตลาดโลก ในชื่อทางการค้าว่า "Heroin" และนำมาใช้แทนมอร์ฟีนอย่างแพร่หลาย หลังจากที่มีการใช้เฮโอีนในวงการแพทย์นานถึง 18 ปี จึงทราบถึงอันตรายและผลที่ทำให้เกิดการเสพติดที่ให้โทษอย่างร้ายแรงจนปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกกฎหมายระบุให้เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษ ห้ามมิให้ผู้ใดมีไว้ในครอบครอง
หลังจากนั้นต่อมาอีก 35 ปี คือ เมื่อปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่ระบาดสู่ประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจึงออกกฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษ
เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออกฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า โดยทั่วไปเฮโรอีน จะมีลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น และแบ่งได้เป็น 2 ประเภท เช่นเดียวกับมอร์ฟีน ได้แก่ เฮโรอีนเบส (Heroin base) ซึ่งมีคุณลักษณะเด่น คือ ไม่ละลายน้ำ ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ เกลือของเฮโรอีน (Heroin salt) เช่น เฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ (Heroin hydrochloride)
เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. เฮโรอีนผสม หรือเรียกว่า เฮโรอีนเบอร์ 3 หรือไอระเหย เป็นเฮโรอีนที่มีความบริสุทธิ์ต่ำ เนื่องจากมีการผสมสารอื่นเข้าไปด้วย เช่น ผสมสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ คาเฟอีน แป้ง น้ำตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงอ่อน สีชมพูอ่อน สีน้ำตาล อาจพบในลักษณะเป็นผง เป็นเกล็ดหรืออัดเป็นก้อนเล็กๆ มีวิธีการเสพโดยการสูดเอาไอสารเข้าร่างกาย จึงเรียกว่า "ไอระเหย" หรือ "แคป"
2. เฮโรอีนเบอร์ 4 เป็นเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ที่มีความบริสุทธิ์สูง มีลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ดคล้ายไข่ปลา หรือพบในลักษณะอัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีสีขาวหรือสีครีม ไม่มีกลิ่น มีรสขม เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า “ผงขาว” มักเสพโดยนำมาละลายน้ำแล้วฉีดเข้าร่างกาย หรือผสมบุหรี่สูบ
อาการผู้เสพ :
1. มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดตามข้อ ปวดสันหลัง ปวดบั้นเอว ปวดหัวรุนแรง
2. มีอาการจุกแน่นในอก คล้ายใจจะขาด อ่อนเพลียอย่างหนัก หมดเรี่ยวแรง มีอาการหนาวๆ ร้อนๆ อึดอัดทุรนทุราย นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย บางรายมีอาการชักตาตั้ง น้ำลายฟูมปาก ม่านตาดำหดเล็กลง
3. ใจคอหงุดหงิดฟุ้งซ่าน มึนงง หายใจไม่ออก
4. ประสาทเสื่อม ความจำเสื่อม
โทษทางร่างกาย :
1. โทษต่อผิวหนัง เป็นอาการที่ทำให้เส้นเลือดใต้ผิวหนังเกิดการขยายตัว เกิดเป็นตุ่มแดงเล็กๆ ขึ้นบริเวณผิวหนัง และกระตุ้นสารฮิสตามีน ( Histamine ) และกระตุ้นต่อมเหงื่อด้วย อาการนี้พบได้หลังจากที่เสพเฮโรอีนใหม่ๆ จะมีอาการคันใต้ผิวหนัง นอกจากนี้ ผู้เสพจะมีเหงื่อออกมากกว่าปกติและขนลุก
2. โทษต่อลำไส้ ทำให้ลำไส้บิดตัวลดลง ผู้เสพจึงมีอาการท้องผูก
3. กดศูนย์การหายใจ ทำให้หายใจช้ากว่าปกติ ถ้าใช้ในปริมาณมากจะทำให้หัวใจหยุดเต้นได้
4. ทำลายฮอร์โมนเพศ ถ้าผู้เสพเป็นเพศหญิง จะทำให้ประจำเดือนมาผิดปกติ ถ้าผู้เสพเป็นเพศชาย จะทำให้ฮอร์โมนเพศลดลง ไม่มีความรู้สึกต้องการทางเพศ
5. ทำลายระบบภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย ผู้เสพจึงมีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่าย อาการที่พบเห็นภายนอก คือ ผิวหนังมีอาการติดเชื้อ เป็นแผลพุพอง ติดเชื้อวัณโรค ติดเชื้อโรคตับอักเสบ นอกจากนี้ผู้เสพติดเฮโรอีนจะทำให้ติดโรคเอดส์ได้ง่ายกว่าปกติ เพราะผู้เสพมักใช้เข็มฉีดยาที่ไม่ได้ทำความสะอาด หรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกันจนทำให้ติดเชื้อ HIV
ผู้เสพติดเฮโรอีนที่ติดเชื้อ HIV ก็จะเป็นผู้แพร่ระบาด HIV เนื่องจากการจับกลุ่มใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือในบางครั้งก็มีเพศสัมพันธ์ร่วมกันโดยไม่ได้ป้องกัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
เฮโรอีนออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกายอย่างรุนแรง
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
โคเคน (Cocaine)
โคเคน หรือ โคคาอีน เป็นยาเสพติด ที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นต้นไม้ที่นิยมลักลอบปลูกมากในประเทศแถบอเมริกาใต้ เช่น เปรู โบลิเวีย และโคลัมเบีย เป็นต้น ในใบโคคาจะมีโคเคนอยู่ประมาณ 2% โคเคนมีชื่อเรียกในกลุ่มผู้เสพว่า COKE, SNOW, SPEED BALL, CRACK โคเคนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ โคเคนเบส (Cocaine base) และเกลือโคเคน เช่น โคเคนไฮโดรคลอไรด์ (Cocaine hydrochloride) และโคเคนซัลเฟต (Cocaine sulfate) โคเคนที่พบในประเทศไทย มี 2 ชนิด ได้แก่
1. โคเคนชนิดผง มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น
2. โคเคนรูปผลึกเป็นก้อน (Free base, Crack)
วิธีการเสพ :
1. การสูดโคเคนผงเข้าทางจมูก หรือเรียกว่า การนัตถุ์
2. การละลายน้ำฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
3. การสูดควัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
โคเคนออกฤทธ์กระตุ้นประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการและปริมาณที่เสพ
มีอาการทางจิตใจ
มีอาการขาดยาทางร่างกายแต่ไม่รุนแรง
อาการผู้เสพ :
หัวใจเต้นแรง ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย ตัวร้อนมีไข้ นอนไม่หลับ มีอาการซึมเศร้า
โทษที่ได้รับ :
ผนังจมูกขาดเลือดทำให้เยื่อบุโพรงจมูกฝ่อ ขาดหรือทะลุ สมองถูกกระตุ้นอย่างรุนแรง ทำให้เกิดอาการชัก มีเลือดออกในสมอง เนื้อสมองตายเป็นบางส่วน หัวใจถูกกระตุ้นอยู่เสมอ กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมลงทีละน้อยจนหัวใจบีบตัวไม่ไหว ทำให้หัวใจล้มเหลว ผลจากการเสพเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดอาการโรคจิต ซึมเศร้า
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (ยาบ้า)
/
ยาบ้ากับเรื่องเพศ
ยาบ้า
ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมีประเภท
แอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพร่ระบาดอยู่ 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (Amphetamine Sulfate) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetmine Hydrochloride) ซึ่งจากผลการตรวจพิสูจน์ยาบ้าปัจจุบัน ที่พบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกือบทั้งหมดมีเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ผสมอยู่
ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้ำหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีน้ำตาล สีม่วง สีชมพู สีเทา สีเหลืองและสีเขียว มีสัญลักษณ์ ที่ปรากฎบนเม็ดยา เช่น ฬ, m, M, RG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจันร์เสี้ยว, 99 หรืออาจเป็นลักษณะของเส้นแบ่งครึ่งเม็ด ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้ อาจปรากฏบนเม็ดยาด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้าน หรืออาจเป็นเม็ดเรียบทั้งสองด้านก็ได้
วิธีการเสพ :
วิธีการเสพยาบ้าทำได้หลายวิธี เช่น รับประทาน หรือนำไปผสมลงใน เครื่องดื่มครั้งละ 1/4, 1/2 หรือ 1-2 เม็ด หรือบางครั้งอาจใช้วิธีฉีดเข้าเส้น แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม วิธีที่นิยมมากที่สุด ได้แก่ วิธีสูบ หมายถึง การใช้หลอดสูบเอาควันที่ได้จากการเผาไหม้เม็ดยาเข้าทางปากคล้ายกับการสูบบุหรี่ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่มีอันตรายต่อร่างกายอย่างยิ่ง เพราะตัวยาจะออกฤทธิ์ต่อร่างกายอย่างรุนแรงและรวดเร็วกว่าวิธีการเสพในรูปแบบอื่น
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทำให้ร่างกายตื่นตัว หัวใจเต็นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะรู้สึกอ่อนเพลียมากกว่าปกติ ประสาทล้า ทำให้การตัดสินใจช้าและผิดพลาดเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง เสียสติ เป็นบ้าอาจทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ หรือในกรณีที่ได้รับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาท และระบบการหายใจ ทำให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้
โทษที่ได้รับ :
การเสพยาบ้าก่อให้เกิดผลร้ายหลายประการ ดังนี้
1. ผลต่อจิตใจ เมื่อเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจำนวนมาก จะทำให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ กลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น เกิดอาการหวาดกลัว ประสาทหลอนซึ่งโรคนี้หากเกิดขึ้นแล้ว อาการจะคงอยู่ตลอดไป แม้ในช่วงเวลาที่ไม่ได้เสพยาก็ตาม
2. ผลต่อระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะมีอาการประสาทล้า ทำให้การตัดสินใจเรื่องต่างๆ ช้า และผิดพลาดหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม หรือกรณีที่ใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทำให้หมดสติและถึงแก่ความตายได้
3. ผลต่อพฤติกรรม ฤทธิ์ของยาจะกระตุ้นสมองส่วนที่ควบคุมความก้าวร้าวและความกระวนกระวายใจ ดังนั้น เมื่อเสพยาบ้าไปนานๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป คือ ผู้เสพจะมีความก้าวร้าวเพิ่มขึ้นและหากยังใช้ต่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงว่าจะมีคนมาทำร้ายตนเองจึงต้องทำร้ายผู้อื่นก่อน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
แอลเอสดี (LSD : Lysergic acid diethylamide)
207
208
209
210
211
Double-headed
serpent Black rings Skull design B Red spot Buddha
223 224 225 226 227
Mr Zippy Bat Design Black
liahtning Smiley
blue eyes Strawberry
แอลเอสดี เป็นสารสกัดจากกรดไลเซอจิกที่มีในเชื้อราชนิดหนึ่งชอบขึ้นในข้าวไรย์ มีลักษณะเป็นผงละลายน้ำได้ อาจพบแอลเอสดีเป็นเม็ดยาแคปซูล หรือผสมในทอฟฟี่ ที่พบว่าแพร่ระบาดมากมีลักษณะเป็นแผ่นกระดาษชุบหรือเคลือบสารแอลเอสดี และปรุแบ่งเป็นชิ้นเล็กๆ ลักษณะเดียวกับแสตมป์ แต่มีขนาดเล็กกว่าแสตมป์ โดยบนแผ่นกระดาษที่เคลือบสารแอลเอสดีนั้นจะมีสัญลักษณ์หรือรูปภาพต่างๆ แอลเอสดีมีความรุนแรงในการออกฤทธิ์ต่อสมองสูงคือใช้ในปริมาณแค่ 25 microgram (25/1 ล้านส่วนของกรัม) แอลเอสดีมีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น เมจิคเปเปอร์ แอสซิสแสตมป์
วิธีการเสพ :
การเสพอาจทำได้หลายวิธี เช่น การฉีด หรือการนำกระดาษที่เคลือบแอลเอสดีอยู่มาเคี้ยว หรืออม หรือวางไว้ใต้ลิ้น
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ไม่มีอาการเสพติดทางร่างกาย มีอาการเสพติดทางจิตใจ
อาการผู้เสพ :
เคลิบเคลิ้ม ฝันเฟื่อง ความดันโลหิตสูง อุณหภูมิในร่างกายสูง หายใจไม่สม่ำเสมอ
โทษที่ได้รับ :
ฤทธิ์ของยาจะทำให้ผู้เสพเห็นภาพลวงตา หูแว่ว เพ้อฝัน คิดว่าตนเองเป็นผู้วิเศษ หรือคิดว่าเหาะได้อาจมีอาการทางจิตประสาทรุนแรง มีอาการหวาดระแวง เกิดอาการกลัว ภาพหลอน (Bad Trip) จึงต้องหนีจากความหวาดกลัว เช่น การขับรถหนี หรือเหาะหนี หรือฆ่าตัวตายเพราะความหวาดกลัว
โทษทางกฎหมาย :
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด ให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก(บุหรี่) / เติบโตอย่างสดใส ห่างไกลจากภัยบุหรี่ / รณรงค์คนรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่ / วิธีการเลิกบุหรี่
บุหรี่ (Cigaratte)
บุหรี่ มีสารต่างๆ หลายชนิด แต่สารสำคัญที่ทำให้เกิดการเสพติดคือ นิโคติน เป็นสารแอลคะลอยด์ที่ไม่มีสี นิโคติน 30 มิลลิกรัมสามารถทำให้คนตายได้ บุหรี่ธรรมดามวนหนึ่งจะมีนิโคตินอยู่ราว 15-20 มิลลิกรัม ก็คือจำนวนนิโคตินในบุหรี่ 2 มวน สามารถทำให้คนตายได้ในทันที แต่การที่สูบบุหรี่ติดต่อกันหลายมวนแล้วไม่ตาย ก็เพราะว่ามีนิโคตินในควันบุหรี่ เป็นส่วนน้อยที่เข้าสู่ร่างกายของผู้สูบ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
บุหรี่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ไม่มีอาการเสพติดทางร่างกาย มีอาการเสพติดทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
ตาแห้ง ตาแดง ริมฝีปากแห้งเขียว เล็บเหลือง ฟันมีคราบดำจับ มือสั้น ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น หลอดลมอักเสบเกิดอการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินหายใจ ไอ เสียงแหบ
โทษที่ได้รับ :
นิโคตินจะออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจให้ทำงานหนัก และในขณะเดียวกัน จะทำให้หลอดเลือดหดตัวอันเป็นสาเหตุของโรคหัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง ถ้าผู้สูบบุหรี่เป็นหญิงมีครรภ์จะทำให้แท้งได้ง่ายหรือทารกที่คลอดออกมาจะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ
บุหรี่ที่มีก้นกรองและไม่มีก้นกรองอย่างไหนมีอันตรายกว่ากัน
จากการศึกษาพบว่าบุหรี่นั้นมีอันตรายไม่ว่าจะมีหรือไม่มีก้นกรองก็ตาม เพราะจากการวัดปริมาณสารทาร์ และสารนิโคติน พบว่าบุหรี่ที่มีก้นกรองและไม่มีก้นกรองผู้สูบจะได้รับปริมาณสารทาร์และสารนิโคตินเท่ากัน แต่อาจป็นไปได้ว่าบุหรี่ที่มีก้นกรองอาจจะกรองสารอื่นที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ออกไปจากควันบุหรี่ได้บ้าง จะเห็นได้ว่าแม้แต่ในต่างประเทศซึ่งส่วนใหญ่จะชอบสูบบุหรี่ก้นกรอง ก็ยังพบว่าผู้สูบบุหรี่ที่มีก้นกรองนั้นได้รับพิษภัยจากบุหรี่เป็นจำนวนมาก และรัฐบาลต่างประเทศก็รณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่ก้นกรองอยู่ตลอดเวลา
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
เห็ดขี้ควาย
เห็ดขี้ควาย เป็นเห็ดพิษซึ่งขึ้นอยู่ตามกองมูลควายแห้ง สีของเห็ดจะมีสีเหลืองซีดคล้ายสีฟางแห้ง บนหัวของร่มจะมีสีน้ำตาลเข็มจนถึงสีดำ บริเวณก้าน (Stalk) ที่ใกล้จะถึงตัวร่ม จะมีแผ่นเนื้อเยื่อบางๆ สีขาวแผ่ขยายออกรอบก้าน แผ่นนี้มีลักษณะคล้ายวงแหวน
เห็ดขี้ควายมีขึ้นอยู่ทั่วไปแทบทุกภาคของประเทศ ลักษณะของเห็ดตัวสมบูรณ์และโตเต็มที่ ตรงบริเวณหมวกจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6.5 - 8.8 เซนติเมตร ความสูงของลำต้นประมาณ 5.5 - 8.0 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 - 1.0 เซนติเมตร
เห็ดขี้ควาย เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในบรรดานักท่องเที่ยวว่า "Magic Mushroom" มีการแพร่ระบาดอยู่ในกลุ่มนักท่องเที่ยวบางกลุ่ม และในบางพื้นที่ของประเทศ เช่น ภาคใต้
อาการผู้เสพ :
ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล สำหรับคนไทยส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภคเห็นชนิดนี้เลย เพราะทราบว่าเป็นเห็ดพิษ กินเข้าไปแล้วจะรู้สึกร้อนวูบวาบตามเนื้อตามตัว แน่นหน้าอก ไม่สบาย บางครั้งคลื่นไส้อาเจียน
โทษที่ได้รับ :
ในเห็ดขี้ควาย มีสารออกฤทธิ์ทำลายประสาทอย่างรุนแรง คือ ไซโลซีนและไซโลไซบีนผสมอยู่เมื่อบริโภคเข้าไปทำให้มีอาการเมาเคลิ้มและบ้าคลั่งในที่สุด นอกจากนั้นหากบริโภคเข้าไปมากๆ หรือผู้ที่มีภูมิต้านทานน้อย อาจทำอันตรายถึงแก่ชีวิต
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี)
/
ยาอี...มีหลายชื่อ
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy)
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้างทางเคมี เท่าที่พบส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญ คือ 3,4 Methylenedioxy methamphetamine (MDMA), 3,4 Methylenedioxy amphetamine (MDA) และ 3,4 Methylenedioxy ethamphetamine (MDE หรือ MDEA) ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่างๆ แต่ที่พบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.2 เซนติเมตร หนา 0.3-0.4 เซนติเมตร ผิวเรียบและปรากฏสัญลักษณ์บนเม็ดยาเป็นรูปต่างๆ เช่น กระต่าย, ค้างคาว, นก, ดวงอาทิตย์, P.T. ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเป็นเม็ด จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิ์ยาจะอยู่ในร่างกายได้นานประมาณ 6-8 ชั่วโมง
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี เป็นยาที่แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออกฤทธิ์ใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทในระยะสั้นๆ หลังจากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ฤทธิ์ของยาจะทำให้ผู้เสพรู้สึกร้อน เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ อันเป็นสาเหตุที่จะนำไปสู่พฤติกรรมเสื่อมเสียต่างๆ และจากการค้นคว้าวิจัยของแพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน พบว่า ยาชนิดนี้มีอันตรายร้ายแรง แม้จะเสพเพียง 1-2 ครั้ง ก็สามารถทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ส่งผลให้ผู้เสพมีโอกาสติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย และยังทำลายเซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่ส่งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการควบคุมอารมณ์ให้มีความสุข ซึ่งผลจากการทำลายดังกล่าว จะทำให้ผู้เสพเข้าสู่สภาวะของอารมณ์ที่เศร้าหมองหดหู่อย่างมาก และมีแนวโน้มการฆ่าตัวตายสูงกว่าคนปกติ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทในระยะสั้นๆ จากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาท มีอาการติดยาทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหติสูง ระบบประสาทการรับรู้เปลี่ยนแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทำให้การได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
โทษที่ได้รับ :
การเสพยาอีก่อให้เกิดผลร้ายหลายประการ ดังนี้
1. ผลต่ออารมณ์ เมื่อเริ่มเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทให้ผู้เสพรู้สึกตื่นตัวตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้เป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ
2. ผลต่อการรับรู้ การรับรู้จะเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นจริง
3. ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทำลายระบบประสาททำให้เซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่หลั่งสารซีโรโทนิน (Seortonin) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการควบคุมอารมณ์นั้นทำงานผิดปกติ กล่าวคือ เมื่อยาอีเข้าสู่สมองแล้วจะทำให้เกิดการหลั่งสาร "ซีโรโทนิน" ออกมามากเกินกว่าปกติ ส่งผลให้จิตใจสดชื่นเบิกบาน แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป สารดังกล่าวจะลดน้อยลงทำให้เกิดอาการซึมเศร้า หดหู่อย่างมาก อาจกลายเป็นโรคจิตประเภทซึมเศร้า (Depression) และอาจเกิดสภาวะอยากฆ่าตัวตาย นอกจากนี้ การที่สารซีโรโทนินลดลงยังทำให้ธรรมชาติของการหลับนอนผิดปกติ จำนวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลับไม่สนิท จึงเกิดอาการอ่อนเพลียขาดสมาธิในการเรียนและการทำงาน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
มอร์ฟีน (Morphine)
มอร์ฟีน เป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ของฝิ่นที่สำคัญที่สุดซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้ฝิ่นมีฤทธิ์เดชแห่งความมึนเมา ชาวเยอรมันชื่อ SERTURNER เป็นผู้สกัดจากฝิ่นเมื่อปี ค.ศ. 1803 (พ.ศ. 2346) ได้เป็นครั้งแรก ฝิ่นชั้นดี จะมีมอร์ฟีนประมาณ 10% - 16% ฝิ่นหนัก 1 ปอนด์นำมาสกัดจะได้มอร์ฟีนประมาณ 0.22 ออนซ์ หรือ 6.6 กรัม มอร์ฟีนมีลักษณะ 2 รูป คือ รูปอิสระ (Free) และรูปเกลือ (Salt) สำหรับที่มีลักษณะเป็นรูปของเกลือ ได้แก่ ซัลเฟท (Sulfate) ไฮโดรคลอไรท์ (Hydrochloride) อาซิเตท (Acetate) และทาร์เตรท (Tartrate) มอร์ฟีนรูปเกลือที่นิยมทำมาก คือ Sulfate ในปัจจุบันมอร์ฟีนสามารถทำขึ้นได้โดยการสังเคราะห์ด้วยกรรมวิธีทางเคมีแล้ว
มอร์ฟีน เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขม มีฤทธิ์สูงกว่าฝิ่น เสพติดได้ง่าย มีลักษณะเป็นเม็ด เป็นผง และเป็นก้อน หรือละลายบรรจุหลอดสำหรับฉีด นำเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีฉีดเป็นส่วนมาก มอร์ฟีนใช้เป็นยาหลักหรือมาตรฐานของยาแก้ปวด ยาจำพวกนี้กดระบบประสาทส่วนกลาง ลดความรู้สึกเจ็บปวด ทำให้รู้สึกง่วงหลับไป และลดการทำงานของร่างกายอาการข้างเคียงอื่นๆ ก็คือ อาจทำให้คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันบริเวณใบหน้า ตาแดงเพราะโลหิตฉีด ม่านตาดำหดตีบ และหายใจลำบาก
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
มอร์ฟีนออกฤทธิ์กดระบบประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันหน้า ตาแดง ซึม ง่วงนอน ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
สารระเหย (Inhalant)
สารระเหย (Inhalant) คือ สารที่ได้จากขบวนการสกัดน้ำมันปิโตรเลียม มีลักษณะเป็นไอระเหยได้ในอากาศ ประกอบด้วย Toluene, Acetone, Butane, Benzen, Trichloroe Thylene ซึ่งพบในกาว แลคเกอร์ ทินเนอร์ น้ำมันเบนซิน ยาล้างเล็บ เมื่อสูดดมเข้าไปจะทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
อาการผู้เสพ :
ผู้เสพจะมีอาการเคลิบเคลิ้ม ศรีษะเบาหวิว ตื่นเต้น พูดจาอ้อแอ้ พูดไม่ชัด น้ำลายไหลออกมามาก เนื่องจากสารที่สูดดมเข้าไปทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุภายในจมูกและปาก การสูดดมลึกๆ หรือซ้ำๆ กัน แม้ในช่วงเวลาสั้นๆ ทำให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ทำให้ขาดสติหรือเป็นลมชัก กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน ระบบประสาทอัตโนมัติ (Reflexes) ถูกกด มีเลือดออกทางจมูก หายใจไม่สะดวก
โทษที่ได้รับ :
1. ระบบทางเดินหายใจ มีอาการระคายเคืองหลอดลม เยื่อบุจมูกมีเลือดออก หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
2. ระบบทางเดินอาหาร มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตับถูกทำลาย
3. ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตอักเสบจนถึงพิการ ปัสสาวะเป็นเลือด เป็นหนอง หรือมีลักษณะคล้ายไข่ขาว
4. ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นผิดปกติ
5. ระบบสร้างโลหิต ไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่สร้างเม็ดโลหิตหยุดทำงานเกิดเม็ดโลหิตแดงต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ ทำให้ซีด เลือดออกได้ง่าย ตลอดจนทำให้เลือดแข็งตัวช้า ในขณะที่เกิดบาดแผล บางรายเกิดเป็นมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
6. ระบบประสาท ปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า เกิดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ ทำให้ลูกตาแกว่ง ลิ้นแข็งพูดลำบาก สมองถูกทำลายจนเซลล์สมองฝ่อ เป็นโรคสมองเสื่อมก่อนวัยอันควร
7. ระบบกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อฝ่อลีบ จนถึงกับเป็นอัมพาตได้
8. ระบบสืบพันธุ์ ทำให้เด็กที่เกิดมาจากผู้ติดสารระเหย มีอาการไม่สมประกอบ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
สารระเหยออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ มีอาการขาดยาแต่ไม่รุนแรง
โทษทางกฎหมาย :
สารระเหยจัดเป็นสารเสพติดตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533
กระท่อม (Kratom)
กระท่อม เป็นพืชเสพติดชนิดหนึ่ง ส่วนมากพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในประเทศอินเดียและในประเทศไทย ลักษณะเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีแก่นเป็นไม้เนื้อแข็ง ใช้ส่วนของใบในการเสพ ลักษณะใบคล้ายใบกระดังงา หรือใบฝรั่ง ต้นหนาทึบ ต้นกระท่อมมี 2 ชนิด คือ
1. ชนิดที่มีก้านและเส้นใบเป็นสีแดงเรื่อๆ
2. ต้นสีเขียว ใบสีเขียว ดอกกลมโตเท่าผลพุทราไทยล้มอรอบด้วยเกสรสีแดงเรื่อๆ คล้ายดอกกระถิน มีชื่อเรียกต่างๆ เช่น กระทุ่มโคก กระทุ่มพาย เป็นต้น
วิธีการเสพกระท่อม
1. เคี้ยวใบดิบ
2. ใช้ใบตากแห้งแล้วนำมาบดเป็นผงรับประทานแล้วดื่มน้ำตาม
3. ใช้ใบที่บดเป็นผงชงกับน้ำร้อนแบบชาจีน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ในใบกระท่อมมีสารไมตราจัยนิน ที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกาย แต่ไม่รุนแรง
อาการผู้เสพ :
ทำงานไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ทนแดด ไม่รู้สึกร้อน ทำให้ผิวหนังไหม้เกรียม มีอาการมึนงง ปากแห้ง นอนไม่หลับ ท้องผูก
โทษที่ได้รับ :
ร่างกายทรุดโทรม มีอาการประสาทหลอน จิตใจสับสน
โทษทางกฎหมาย :
กระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเค
ยาเค มาจากคำว่า เคตามีน (Ketamine) เคตาวา (Ketava) เคตารา (Ketara) หมายถึง ยาที่มีอันตรายสูง ที่แพทย์จะจ่ายให้กับผู้ป่วยเฉพาะเมื่อมีความจำเป็นจริงๆ เท่านั้น ยาเคถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ โดยใช้เป็นยาสลบมีชื่อเรียกในวงการแพทย์ว่า "KATAMINE HCL." มีลักษณะเป็นผงสีขาว และเป็นน้ำบรรจุอยู่ในขวดสีชา การนำไปใช้นั้นปกติแพทย์จะใช้ฉีดเข้าเส้นเลือดในอัตรา 1 ถึง 2 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยยาจะออกฤทธิ์ทำให้หมดสติภายในเวลา 1 นาที หรืออาจใช้วิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่วิธีนี้จะใช้ปริมาณยามากกว่าการฉีดเข้าเส้นเลือดประมาณ 3 เท่า อาการหมดสติจากการใช้ยาเคจะเป็นอยู่นานประมาณ 10-15 นาที เท่านั้น ด้วยเหตุนี้ยาเคจึงถูกนำมาใช้ในกรณีของการผ่าตัดที่ใช้ระยะเวลาสั้นๆ หรือใช้ทำให้ผู้ป่วยสลบ ก่อนที่จะผ่านไปสู่การใช้ยาสลบชนิดอื่น
สาเหตุที่ทำให้ยาเคกลายเป็นปัญหา เพราะวัยรุ่นบางกลุ่มได้นำยาเคมาใช้เป็นสิ่งมึนเมา โดยนำมาทำให้เป็นผงด้วยกรรมวิธีผ่านความร้อน จากนั้นจึงนำมาสูดดมเพื่อให้เกิดอาการมึนเมาและมักพบว่ามีการนำยาเคมาใช้ร่วมกับยาเสพติดร้ายแรงชนิดอื่น เช่น ยาอี และโคเคน
ยาเค เป็นยาที่ออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรงเมื่อเสพเข้าไปจะรู้สึกเคลิบเคลิ้ม (Euphoria) รู้สึกว่าตนเองมีอำนาจพิเศษ (Mystical) มีอาการสูญเสียกระบวนการทางความคิด ความคิดสับสน การรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภาพ แสง สี เสียง จะเปลี่ยนแปลงไป ตาลาย ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน หากใช้ปริมาณมากจะเกิดการติดขัดในการหายใจ (Respiratory depression) อาการที่ไม่พึงประสงค์เหล่านั้น (Bad Trip) จะปรากฏให้เห็นคล้ายกับอาการทางจิต ซึ่งหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะปรากฏอาการเช่นนี้อยู่บ่อยๆ เรียกว่า Flashbacks ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว จะทำให้ผู้เสพประสพกับสภาวะโรคจิตและกลายเป็นคนวิกลจริตได้
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ยาเคออกฤทธิ์หลอนประสาท
อาการผู้เสพ :
เคลิบเคลิ้ม มึนงง ความคิดสับสน ตาลาย หูแว่ว การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป การเคลื่อนไหวของร่างกายไม่สัมพันธ์กัน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 106 พ.ศ. 2541 ออกตามความใน พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ. 2518 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 พ.ย. 2541 ฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุก 5-20 ปี ปรับตั้งแต่ 100,000-400,000 บาท
โทษที่ได้รับ :
การนำยาเคมาใช้ในทางที่ผิดย่อมก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ใช้ โดยทำให้เกิดผล ดังนี้
1. ผลต่ออารมณ์ มีความรู้สึกเคลิบเคลิ้ม มึนงง หรือที่เรียกว่าอาการ "Dissociation"
2. ผลต่อการรับรู้ จะเปลี่ยนแปลงการรับรู้จะเปลี่ยนแปลงการรับรู้ทั้งหมดในขณะเสพ ไม่ค่อยตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภาพ แสง สี เสียง
3. ผลต่อร่างกายและระบบประสาท เมื่อใช้ยาเคในปริมาณมากๆ ไม่เพียงแต่จะทำให้เกิดอาการติดขัดในการหายใจเท่านั้น ยังทำให้เกิดอาการทางจิตประสาทหลอน หูแว่วกลายเป็นคนวิกลจริตได้
กัญชา (Cannabis, Marihuana, Ganja)
กัญชา เป็นพืชล้มลุกจำพวกหญ้าขึ้นได้ง่ายในเขตร้อน ลำต้นสูงประมาณ 2-4 ฟุต ลักษณะใบจะแยกออกเป็นแฉกประมาณ 5-8 แฉก คล้ายใบมันสำปะหลัง ที่ขอบใบทุกใบจะมีรอยหยักอยู่เป็นระยะๆ ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ ตามง่ามของกิ่งและก้าน ส่วนที่คนนำมาเสพได้แก่ ส่วนของกิ่ง ก้าน ใบและยอดช่อดอกกัญชา โดยนำมาตากหรืออบแห้งแล้วบดหรือหั่นให้เป็นผงหยาบๆ จากนั้นจึงนำมายัดไส้บุหรี่สูบ (แตกต่างจากบุหรี่ทั่วไปที่ไส้บุหรี่จะมีสีเขียวต่างจากไส้ยาสูบที่มีสีน้ำตาล และขณะจุดสูบจะมีกลิ่นเหมือนหญ้าแห้งไหม้ไฟ) หรืออาจสูบด้วยกล้องหรือบ้องกัญชา บ้างก็ใช้เคี้ยว หรือผสมลงในอาหารรับประทาน ปัจจุบันรูปแบบของกัญชาที่พบนอกจากจะพบในลักษณะของกัญชาสด กัญชาแห้งอัดเป็นแท่งเป็นก้อนแล้วยังอาจพบในรูปของ "น้ำมันกัญชา" (Hashish Oil) ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวสีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ ได้จากการนำกัญชามาผ่านกระบวนการสกัดหลายๆ ครั้งจึงได้เป็นน้ำมันกัญชาที่มีปริมาณสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทสูงถึง 20-60% หรืออาจพบในลักษณะของ "ยางกัญชา" (Hashish) เป็นยางแห้งที่ได้จากใบและยอดช่อดอกกัญชา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีฤทธิ์แรงกว่ากัญชาสด และมีปริมาณสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประมาณ 4-8%
กัญชา เป็นยาเสพติดให้โทษที่ออกฤทธิ์หลายอย่างต่อระบบประสาทส่วนกลาง คือ ทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาท สารออกฤทธิ์ที่อยู่ในกัญชามีหลายชนิด แต่สารที่สำคัญที่สุดที่มีฤทธิ์ต่อสมองและทำให้ร่างกาย อารมณ์และจิตใจเปลี่ยนแปลงไป คือ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydro Cannabinol) หรือ THC ที่มีอยู่มากในส่วนของยอดช่อดอกกัญชา สาร THC นี้ ในเบื้องต้นจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ผู้เสพตื่นเต้น ช่างพูด และหัวเราะตลอดเวลา ต่อมาจะกดประสาททำให้ผู้เสพมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อนๆ เซื่องซึมและง่วงนอน หากเสพเข้าไปในปริมาณมากๆ จะหลอนประสาททำให้เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ได้
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์ผสมผสานทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาท มีอาการเสพติดทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
อารมณ์อ่อนไหวเปลี่ยนแปลงง่าย ความคิดเลื่อนลอยสับสน ควบคุมตัวเองไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความจำเสื่อม กล้ามเนื้อลีบ หัวใจเต้นเร็ว หูแว่ว
โทษที่ได้รับ :
หลายคนคิดว่า การเสพกัญชานั้นไม่มีโทษร้ายแรงมากนัก แต่จากการศึกษาวิจัย พบว่า กัญชาเป็นยาเสพติดอีกชนิดหนึ่ง ที่มีอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพมากเกินกว่าที่คาดคิด อาทิเช่น
1. ทำลายสมรรถภาพทางกาย ผู้เสพกัญชาในปริมาณมาก เป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม จนไม่สามารถประกอบกิจการงานใดๆ ได้ โดยเฉพาะงานที่ต้องใช้แรงงาน ความคิด และการตัดสินใจ รวมทั้งจะมีลักษณะ Amotivation Syndrome คือ การหมดแรงจูงใจของชีวิต จะไม่คิดทำอะไรเลย อยากอยู่เฉยๆ ไปวันๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการทำงานเป็นอย่างมาก
2. ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การเสพติดกัญชามีผลร้ายคล้ายกับการติดเชื้อเอดส์ (HIV) กล่าวคือ กัญชาจะทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานเสื่อมลงหรือบกพร่อง ร่างกายจะอ่อนแอและติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย
3. ทำลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพียงในระยะสั้น ทำให้ผู้เสพบางรายสูญเสียความทรงจำ เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้สมองและความจำเสื่อม เกิดความสับสน วิตกกังวล และหากผู้เสพเป็นผู้มีอาการของโรคจิตเภท หรือป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการรุนแรงมากกว่าคนปกติทั่วไป
4. ทำให้เกิดมะเร็งปอด เนื่องจากผู้เสพจะอัดควันกัญชาเข้าไปในปอดลึกนานหลายวินาที การสูบบุหรี่ยัดไส้กัญชาเพียง 4 มวน ซึ่งเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง หรือ 20 มวน นั้นสามารถทำลายการทำงานของระบบทางเดินหายใจทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่ธรรมดาถึง 5 เท่า และในกัญชายังมีสารเคมีที่เป็นอันตรายสามารถให้เกิดโรคมะเร็งได้
5. ทำร้ายทารกในครรภ์ กัญชาจะทำลายโครโมโซม ฉะนั้นหญิงที่เสพกัญชาในระยะตั้งครรภ์ ทารกที่เกิดมาจะพิการมีความผิดปกติทางร่างกาย เช่น ความผิดปกติของเซลล์ประสาทในสมอง ความผิดปกติของฮอร์โมนเพศและพันธุกรรม
6. ทำลายความรู้สึกทางเพศ กัญชาจะทำให้ระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในชายลดลง ทำให้ปริมาณอสุจิน้อยลง ทั้งยังพบว่า ผู้เสพติดกัญชามักกลายเป็นคนขาดสมรรถภาพทางเพศ
7. ทำลายสุขภาพจิต ฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้ผู้เสพมีอาการเลื่อนลอย ฝันเฟื่อง ความคิดสับสนและมีอาการประสาทหลอนจนควบคุมตนเองไม่ได้ ซึ่งถ้าเสพเป็นระยะเวลานานจะทำให้มีอาการจิตเสื่อม
นอกจากผลร้ายที่มีต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพแล้ว การขับรถขณะเมากัญชายังก่อให้เกิดอันตรายได้มาก เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้เสียสมาธิ ทำให้การตัดสินใจผิดพลาด การตอบสนองช้าลง การรับรู้ทางสายตาบิดเบือน ความสามารถในการมองเห็นส่งเคลื่อนที่ด้อยลง จึงเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อผู้ขับรถยนต์หรือแม้แต่เดินบนท้องถนนก็ตาม
โทษตามกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
แอลกอฮอล์ (Alcohol)
แอลกอฮอล์ เป็นของเหลวไม่มีสี แอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มมึนเมา คือ เอธิลแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มมึนเมาชนิดต่างๆ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้ บรั่นดี จะมีปริมาณของเอธิลแอลกอฮอล์แตกต่างกัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กดประสาท มีการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
อาการผู้เสพ :
ถ้าดื่มมากๆ จะกัดกระเพาะอาหารเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหาร ความรู้สึกนึกคิดผิดไป ควบคุมตนเองไม่ได้ ไม่สามารถยับยั้งตนเองจึงอาจแสดงอาการบางอย่างออกมา เช่น ดุร้าย ทะเลาะวิวาท พูดมาก นอกจากนี้ยังมีอาการหน้าแดง ตัวแดง ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นแรง ปัสสาวะบ่อย ถ้าดื่มมากขึ้นอีกจะทำให้การรับรส กลิ่น เสียง และสัมผัสลดลง คนที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือคนที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง จะมีใบหน้าบวมฉุ หน้าแดง ตาแดง ผิวหนังคล้ำ มือสั่น ลมหายใจมีกลิ่นแอลกอฮอล์
โทษที่ได้รับ :
ถ้าดื่มเป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้เกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง ทำลายตับและสมอง สติปัญญาเสื่อม ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตใจผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว ปลายมือปลายเท้าชา กระเพาะอาหารอักเสบ เบื่ออาหาร ร่างกายซูบผอม และอาจเกิดโรคตับแข็งถ้าเสพติดมาก และไม่ได้เสพจะมีอาการกระวนกระวาย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เหงื่อออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว อารมณ์ฉุนเฉียว อาจมีอาการชักประสาทหลอน เป็นโรคจิต และถ้าดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับยาที่กดประสาท เช่น ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท จะเสริมฤทธิ์กันทำให้มีอันตรายมากขึ้นได้
อ๊อพตาลิดอน-พี
อ๊อพตาลิดอน-พี มีประโยชน์ต่อวงการแพทย์อย่างไร
อ๊อพตาลิดอน-พี หรืออ๊อพ หรือยาอ๊อพ เป็นชื่อทางการค้าของยาแก้ปวดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทยาควบคุมพิเศษ ช่วยบรรเทาอาการปวดหัวและครั่นเนื้อครั่นตัว หรือความรู้สึกไม่สบายที่เกิดจากไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ฯลฯ ปวดฟัน ปวดประจำเดือน อาการปวดจากการผ่าตัดเล็ก ฯลฯ
อ๊อพตาลิดอน-พี มีผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร
ส่วนประกอบของตัวยาสำคัญที่พบใน อ๊อพตาลิดอน-พี คือ โปรปิพี-นาโซน (ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตน และคาเฟอีน) มีคุณสมบัติที่ก่อให้เกิดการเสพติด ผู้ที่ใช้ยานี้บ่อยๆ หรือใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดการเสพติดได้
ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตนและคาเฟอีนมีฤทธิ์ต่อร่างกายอย่างไร
ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตนอาจเรียกสั้นๆ ว่า บิวตาลปิตาล ยาชนิดนี้จัดเป็นยาในกลุ่มบาบิทูเรท ซึ่งเป็นกลุ่มยาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี บิวตาลปิตาลมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ในขนาดน้อยใช้เพื่อระงับประสาทได้ แต่ในขนาดสูงสามารถใช้เป็นยานอนหลับ และการใช้ยาเกินขนาด (ส่วนใหญ่มากกว่า 10 เท่า ของขนาดที่ทำให้หลับ) ผู้ใช้อาจเสียชีวิตได้ นอกจากนี้การใช้ยาชนิดนี้ร่วมกับยาหรือสารอื่นที่มีฤทธิ์กดประสาท เช่น ยานอนหลับ แอลกอฮอล์ ฯลฯ ก็อาจทำให้ผู้ใช้ถึงแก่ชีวิตได้ ผลจากการติดตัวยาชนิดนี้จะก่อให้เกิดโทษได้หลายอย่าง โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท เช่น มีอาการมึนงง ใจคอหงุดหงิด ความรู้สึกเลื่อนลอยหรือสับสน มีอาการทางจิตฟุ้งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สำหรับผลต่อระบบส่วนอื่นๆ ของร่างกาย โรคหรืออาการที่อาจพบได้ เช่น ความดันโลหิตต่ำ ท้องผูก ฯลฯ กรณีผู้ที่ติดยานี้ (รวมถึงผู้ที่ติดอ๊อพตาลิดอน-พี) หรือยาชนิดอื่นในกลุ่มบาบิทูเรท เมื่อต้องการเลิกไม่ควรเลิกทันที แต่ควรค่อยๆ ลดขนาดยาลงเพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดอาการชักที่จะทำให้ถึงแก่ชีวิตได้
สำหรับ คาเฟอีน ซึ่งเป็นอีกชนิดหนึ่งที่เป็นส่วนผสมในอ๊อพตาลิดอน-พี นั้น เป็นสารธรรมชาติที่พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ต้นกาแฟ ชา โกโก้ ฯลฯ ยานี้จะไม่ใช้เดี่ยวๆ แต่มักผสมร่วมกับยาแก้ปวดบางชนิดที่มักผสมร่วมกับยาแก้ปวดบางชนิดที่มักพบว่านิยมผสมร่วมด้วย คือ แอสไพริน เพระเชื่อกันว่าคาเฟอีนช่วยเพิ่มการแสดงฤทธิ์ของยาแก้ปวดชนิดนี้ได้ คาเฟอีนมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง จึงทำให้ผู้ใช้รู้สึกกระปรี้กระเปร่าไม่ง่วง ทั้งยังมีส่วนทำให้หัวใจเต้นแรงขึ้น ฯลฯ หากให้ยาเกินขนาดผู้ใช้จะเกิดอาการวิตกกังวล เครียดและใจสั่น เมื่อเทียบกับยากระตุ้นประสาทอื่นๆ การติดคาเฟอีนจะต้องใช้ขนาดสูงกว่าและช่วงระยะเวลานานกว่า รวมทั้งการติดมีความรุนแรงน้อยกว่า อย่างไรก็ดี การติดคาเฟอีนก่อให้เกิดผลเสียหลายอย่างเช่นกัน โดยเฉพาะผู้ติดที่เป็นผู้สูงอายุ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นจะคล้ายคลึงกับอาการที่พบในผู้ที่ใช้คาเฟอีนเกินขนาดดังกล่าวข้างต้น รวมทั้งผู้ใช้จะมีอาการนอนไม่หลับ ความคิดสับสนปวดหัวบ่อยๆ หัวใจเต้นแรงและอาจพบเป็นโรคอุจจาระร่วงประจำ
สาเหตุของการติดยาเสพติด
ภายหลังจากที่มีการประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 37 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2501 ซึ่งมีผลบังคับเมื่อ 1 กรกฎาคม 2502 ห้ามประชาชนทั่วประเทศสูบฝิ่นเพียงชนิดเดียว และก่อนที่ประกาศคณะปฏิวัติจะมีผลบังคับ ได้อนุญาตให้ผู้เสพติดฝิ่นมาขอจดทะเบียนเพื่อผ่อนผันให้เสพต่อไปได้อีก 6 เดือน ปรากฏว่ามีผู้มาลงทะเบียนแสดงการติดฝิ่นทั่วประเทศ 70,985 คน แต่ก็คงมีผู้แอบเสพโดยไม่มาลงทะเบียน ซึ่งคงมีจำนวนอีกไม่มาก เมื่อเหตุการณ์ล่วงเลยมาจนถึงปัจจุบัน ยาเสพติดนับได้ว่าเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างร้ายแรง ทั้งจำนวนผู้ติดยาเสพติดก็มากขึ้นนับกว่าล้านคน ซึ่งยาเสพติดที่เป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ก็กลับมีเพิ่มขึ้นอีกหลายชนิด มิได้มีแต่ฝิ่นอย่างเดียวเหมือนเช่นสมัยก่อน จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าว่าเพราะสาเหตุใดที่ทำให้ผู้คนโดยเฉพาะเยาวชนไปเสพยาเสพติด ทั้งๆ ที่สมัยที่มีการเสพติดฝิ่นเพียงอย่างเดียว ปรากฏชัดว่าผู้ติดฝิ่นมีอายุต่ำที่สุด 40 ปี แต่ปัจจุบันผู้ติดยาเสพติดหรือสิ่งเสพติดกลับมีอายุที่ลดลงอย่างน่าวิตก คือต่ำที่สุด 7 ปี และสูงสุดกลายเป็น 40 ปี และช่วงที่มีปัญหาที่น่าห่วงใยเพราะทรัพยากรอันมีค่าของประเทศกำลังอยู่ในอันตราย จำเป็นที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันชี้แนวทางในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด
สาเหตุที่ทำให้เยาวชน ตลอดจนผู้คนวัยอื่นๆ หันไปเสพยาเสพติดที่หลายประการที่สำคัญ ดังนี้
1. สาเหตุจากการถูกชักชวน เยาวชนส่วนใหญ่มีสัญชาตญาณต้องการอยู่ร่วมกัน ต้องการได้รับการยกย่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของหมู่คณะ ฉะนั้นถ้าเพื่อนฝูงชักชวนให้ลองย่อมขัดไม่ได้ มิฉะนั้นจะกลายเป็นเข้ากับเพื่อนไม่ได้ จึงทำให้เยาวชนต้องยอมใช้ยาเสพติดตามการชักชวนของเพื่อน ซึ่งมีหลักฐานสนับสนุนที่แน่ชัด โดยผลจากการศึกษาวิจัยของทางราชการ พบว่า เยาวชนติดยาเสพติดเพราะถูกเพื่อนชักจูงมีถึง 77% ประกอบกับเยาวชนวัยรุ่นเป็นวัยที่อยากรู้อย่าลองจึงง่ายต่อการชักชวนมากขึ้น
2. สาเหตุจากอยากลอง ความอยากรู้อยากเห็น อยากลอง อยากรู้รสชาติ อยาสัมผัส เป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ โดยคิดว่าคงไม่ติดง่ายๆ แต่เมื่อลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน ติดง่ายมาก เพียงเสพไม่กี่ครั้งก็ติดแล้ว
3. สาเหตุจากความกดดันในครอบครัว มีส่วนผลักดันให้สมาชิกในครอบครัวหันไปใช้ยาเสพติดได้ ซึ่งความกดดันในครอบครัวมีแตกต่างกันไป เช่น
พ่อแม่ทะเลาะกันทุกวัน ลูกเกิดความรำคาญใจที่เห็นสภาพเช่นนั้น ทำให้เบื่อบ้าน จึงทำให้ใช้เวลาว่างที่มีไปคบเพื่อนนอกบ้านจนกว่าจะถึงเวลานอนจึงกลับบ้านและในที่สุดก็หันไปสู่ยาเสพติด
พ่อแม่หย่าร้าง ต่างคนต่างมีภรรยาหรือสามีใหม่ ทำให้ขาดความสนใจในลูกเท่าที่ควร เด็กในวัยรุ่นส่วนใหญ่มีความกดดันสูง ประกอบกับความน้อยใจว่าพ่อแม่ไม่รัก รู้สึกว้าเหว่ จึงได้หันไปใช้ยาเสพติด
พ่อแม่ที่ไม่เข้าใจลูก เยาวชนที่หันไปใช้ยาเสพติดมิใช่ว่ามีเฉพาะเยาวชนที่ยากจน หรืออยู่ในสถานกำพร้า ฯลฯ เยาวชนที่มีพ่อแม่ร่ำรวยก็มีโอกาสติดยาเสพติดได้ เพราะความที่พ่อแม่ไม่เข้าใจลูก คิดว่าหากต้องการอะไรพ่อแม่ก็หาให้ได้โดยใช้เงิน แต่ความจริงเด็กหรือเยาวชนก็มีจิตใจอยากร่วมกันรับรู้ในกิจกรรมของครอบครัว ต้องการให้พ่อแม่ยกย่องเมื่อทำกิจกรรมดี เช่น สอบไล่ได้ที่ดีๆ หรือได้รับคำชมเชยเมื่อช่วยเหลือผู้อื่น ย่อมต้องอยากเล่าให้พ่อแม่ฟังในเรื่องราวต่างๆ แต่ปรากฏว่าเมื่อกลับมาถึงบ้านพ่อแม่มีภารกิจมาก ไม่มีเวลาให้ลูก หรือทำความดีก็ไม่เคยรู้ เมื่อเป็นเช่นนี้บ่อยๆ เด็กก็เสียใจ ในที่สุดก็กลายเป็นคนเงียบขรึม ว้าเหว่ และหันไปใช้ยาเสพติดได้
พ่อแม่ที่แสดงออกในการรักลูกไม่เท่ากัน การเอาใจใส่ที่แสดงออกต่อลูกทุกคนควรเหมือนกันและพ่อแม่ที่ลูกหลายคนไม่ควรตั้งความหวังสูงนัก อยากให้ลูกเรียนเก่ง สอบได้ที่ 1 ทุกคนต้องการเช่นนี้ แต่ควรยอมรับสภาพความเป็นจริงว่าการเรียนเก่งนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ประการ เช่น สติปัญญา ความเอาใจใส่ของเด็กเอง ฉะนั้น เมื่อมีลูก 2-3 คน อาจจะบางคนเรียนเก่ง ลูกคนที่เรียนไม่เก่งก็ไม่ควรได้รับการตำหนิจากพ่อแม่ เพราะสติปัญญาคนเราไม่เท่ากัน มีพ่อแม่บางคนพยายามชมเชยยกย่อง ลูกคนเรียนเก่งให้ลูกที่เรียนไม่เก่งฟังเสมอๆ
4. สาเหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นโรคประสาท เป็นหืด ได้รับความทรมาณทางกายมาก ผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติดจนติดยาในที่สุด
5. สาเหตุจากความคะนอง บุคคลประเภทนี้มีความอยากลอง ซึ่งรู้แน่แก่ใจว่ายาเสพติดให้โทษไม่ดี แต่ด้วยความคะนองเพราะเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดงความเก่งกล้าอวดเพื่อน ขาดความยั้งคิด จึงชักชวนกันเสพจนติดในที่สุด
6. สาเหตุจากความจำเป็นในอาชีพบางอย่าง เช่น ผู้ทำงานกลางคืน นักดนตรี คนขับรถเมล์ คนขับรถบรรทุก ผู้ทำงานในสถานประกอบการ ผู้มีอาชีพเหล่านี้ใช้ยาเสพติด โดยหวังผลให้สามารถประกอบการงานได้ เช่น บางคนใช้เพราะฤทธิ์ยาช่วยไม่ให้ง่วง บางคนใช้เพื่อย้อมใจให้เกิดความกล้า
7. สาเหตุจากปัญหาเศรษฐกิจ คือ การไม่มีงานทำ หรือมีรายได้ไม่พอรายจ่าย รวมทั้งใช้จ่ายเงินเกินตัว แม้จะทราบว่ายาเสพติดผิดกฎหมาย แต่เพื่อความอยู่รอดของตนเองจึงยอมไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด โดยขั้นแรกอาจเป็นเพียงคนช่วยส่งยาเสพติดแต่การอยู่ใกล้ชิดยาบ่อยๆ ในที่สุดเป็นผู้ส่งยาและติดยา บางคนแม้จะมีพอกินพอใช้ คิดอยากรวยทางลัดก็เป็นทางให้ไปสู่ยาเสพติดได้
8. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม มีผู้ติดยาเสพติดจำนวนไม่น้อย มีความตั้งใจที่จะพยายามเลิกเสพ โดยเข้ารับการบำบัดรักษาจากทั้งภาครัฐและเอกชน แต่เมื่อหายแล้วปรากฏว่าสังคมไม่ยอมรับ เช่น ในครอบครัวตนเองยังแสดงท่าทีดูถูกเหยียดหยามรังเกียจ หรือไปสมัครเข้าทำงานก็ถูกปฏิเสธ เนื่องจากมีประวัติเคยติดยาเสพติด คนเหล่านี้จำเป็นต้องมีชีวิตอยู่รอด ดังนั้น เมื่อสังคมไม่ยอมรับจึงหันกลับไปอยู่ในสังคมยาเสพติดเช่นเดิม
9. สาเหตุจากอยู่ในแหล่งที่มียาเสพติด สถานที่อยู่อาศัย ที่อยู่ใกล้แหล่งที่มีการมั่วสุมยาเสพติดและค้ายาเสพติดก็อาจเป็นสาเหตุให้ถูกชักจูงหรือล่อลวงให้ติดยาเสพติดได้ง่าย
10. ขาดความรู้ในเรื่องยาและยาเสพติด คนบางคนทดลองใช้ยาเสพติดเพราะไม่รู้จักและไม่มีความรู้เรื่องยาเสพติด บางคนอาจเคยได้ยินโทษพิษภัยของยาเสพติด แต่ไม่รู้จักชื่อต่างๆ ที่ใช้เรียกอาจถูกหลอกให้ทดลองใช้และเกิดเสพติดขึ้นได้ เช่น คนส่วนใหญ่รู้ว่าเฮโรอีนเป็นยาเสพติดและไม่คิดจะลอง แต่หลายคนอาจไม่รู้ว่าผงขาวคือเฮโรอีน เมื่อเพื่อนมาชักชวนว่าให้ลองเสพผงขาวแล้วจะเที่ยวผู้หญิงสนุก จึงได้ลองเสพโดยไม่ทราบว่ามันจะเป็นเฮโรอีน นอกจากนี้ถ้าคนเรามีความรู้เรื่องการใช้ยาบ้างก็จะไม่ใช้ยาที่ไม่มีฉลาก
สาเหตุใหญ่ๆ ที่กล่าวมาแล้ว คนที่จิตใจอ่อนแอ อ่อนไหวง่ายก็ติดยาง่าย ดังตัวอย่างข้างต้น สาเหตุที่ทำให้บุคคลหนึ่งไปติดยาเสพติด อาจมิใช่จากสาเหตุเดียว แต่อาจเกิดได้จากสาเหตุหลายๆ ประการก็ได้
วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติดหรือสารเสพติด
ผู้ที่ติดยาเสพติดย่อมรู้ตัวเองดีว่าติดอะไรและสิ่งนั้นผิดกฎหมายหรือไม่ เช่น ติดเหล้าหรือบุหรี่ซึ่งไม่ผิดกฎหมาย บุคคล ผู้เสพติดก็จะไม่กังวลใจมาก บางรายกลับเห็นเป็นของโก้ แต่ถ้าติดสิ่งเสพติดที่ผิดกฎหมายผู้เสพติดจะเกิดความเครียด เพราะต้องปิดบังในการเสพ ฉะนั้นผู้เสพติดจะมีสีหน้าที่แสดงถึงความไม่สบายใจคล้ายๆ ทำผิดแล้วกลัวถูกจับได้ การสังเกตจึงสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกได้ดังนี้
1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย โดยสังเกตได้จากสิ่งต่อไปนี้
สุขภาพทั่วไปทรุดโทรม เพราะฤทธิ์ของยาอาจทำให้ไม่หิวหรือเบื่ออาหาร ร่างกายจะผอมซีด หมองคล้ำ น้ำหนักลด ไม่มีเรี่ยวแรงที่จะทำงานหนัก ริมฝีปากเขียวคล้ำ แตกและแห้ง (พวกที่เสพโดยการสูบ) มักใส่แว่นตาสีดำหรือสีเข้มเพื่อต่อสู้กันแสงสว่าง เพราม่านตาขยาย น้ำมูกน้ำตาไหล เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง เพราะไม่ทำความสะอาดร่างกายตัวเองทุกวัน นิ้วมือมีคราบเหลืองๆ สกปรก
มีร่องรอยการเสพยาเสพติดให้เห็นที่บริเวณแขนตามแนวเส้นโลหิตดำ มักใส่เนื้อแขนยาวเพื่อปกปิดร่องรอยการฉีดยาเสพติด (เสพโดยฉีดเข้าเส้น) ผงขาว เฮโรอีน หรือบริเวณตะโพกและหัวไหล่ มีรอยแผลเป็นช้ำๆ (เสพโดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ)
มีรอยแผลเป็นที่ท้องแขน เป็นรอยกรีดด้วยของมีคมตามขวางเฉียงๆ (ทำร้ายตนเอง ติดเหล้าแห้ง ยากล่อมประสาท ยาระงับประสาท)
นิ้วมือมีรอยคราบเหลืองสกปรก (เสพโดยการสูบเฮโรอีนเกล็ด)
บุคคลที่ติดยาเสพติดจะมีโรคแทรกต่างๆ เกิดขึ้น เช่น โรคทางเดินอาหาร ปวดท้อง ตับแข็ง โรคทางเดินหายใจ (อาทิ ปอดบวม วัณโรค) โรคผิวหนัง จะมีผิวหนังหยาบกร้านเป็นแผลพุพอง อาจมีหนอง น้ำเหลืองคล้ายโรคผิวหนัง (เสพโดยการฉีดผงขาวเข้าเส้น)
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและพฤติกรรม
ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ เช่น คนทำงานก็ขาดงาน นักเรียนก็ขาดเรียน
สติปัญญาเสื่อม การเรียนด้อยลง ความจำเสื่อม การงานบกพร่อง
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง จิตใจอ่อนแอ
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ปล่อยเนื้อปล่อยตัว พูดจาไม่สัมพันธ์กับสภาพความเป็นจริง
อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียว ไม่มีเหตุผล พูดจากร้าวร้าวแม้แต่กับบิดามารดา ชอบอยู่สันโดษ หลบหน้าเพื่อนฝูง ทำตัวลึกลับ
มั่วสุมกับคนที่มีพฤติการณ์เกี่ยวกับยาเสพติด
สูบบุหรี่จัดขึ้น
มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น ตัวยา อุปกรณ์การฉีดหรือการสูดดมในตัว
มีธุระส่วนตัวนอกบ้านเสมอๆ กลับบ้านผิดเวลาเป็นประจำ
ไม่ชอบทำงานทำการอะไร นอกจากง่วงเหงาหาวนอน ชอบนอนทั้งวัน ตื่นสายผิดปกติ
ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อย สกปรก ไม่รับประทานอาหารตามปกติผิดจากแต่ก่อน
สีหน้าแสดงความวิตกกังวลซึมเศร้า
ใช้เงินเปลืองผิดปกติ
สิ่งของในบ้านหายบ่อย
3. แสดงอาการอยากยาเสพติด เป็นที่ทราบแล้วว่ายาเสพติดทุกชนิดเมื่อเสพแล้ว ก็ออกฤทธิ์ชั่วระยะเวลาหนึ่ง พอหมดฤทธิ์ก็ทำให้ผู้ติดยาอยากเสพอีก ถ้าไม่ได้ยามาเสพจะแสดงอาการอยากยาขึ้น ก็ให้สังเกตอาการอยากยาที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของตัวยา เช่น
จาม น้ำมูก น้ำตาไหลคล้ายคนเป็นหวัด
คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
ท้องเดิน บางคนอยากมากถึงอุจจาระเป็นเลือด เรียกว่าลงแดง
ตัวสั่นกระตุก อาจถึงชัก
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อย่างรุนแรง
นอนไม่หลับ ทุรนทุราย ม่านตาขยาย
4. อาศัยเทคนิคทางการแพทย์ เมื่อลองใช้วิธีสังเกตทั้ง 3 วิธีแล้วยังไม่มั่นใจก็ใช้เทคนิคทางการแพทย์เป็นเครื่องมือช่วยการสังเกตได้ ดังนี้
4.1 เก็บปัสสาวะบุคคลที่สงสัยว่าติดยาเสพติดส่งตรวจ โดยวิธีหาสารที่ถูกขับถ่ายออกทางปัสสาวะ ซึ่งอาศัยเทคนิคเฉพาะในการตรวจก็สามารถบอกได้ว่าสารที่ออกมาในปัสสาวะเป็นสารเสพติดชนิดใด
4.2 ให้ยาบางชนิดที่ล้างฤทธิ์ยาเสพติด (Antidote) ให้แก่บุคคลที่สงสัยว่าติดยาเสพติด เช่น ให้นาลอร์ฟีน (Nalorphine) แก่บุคคลที่ติดเฮโรอีนกินซึ่งบุคคลนั้นจะแสดงอาการอยากยา ตามข้อ 3 ทันที ทั้งนี้เพราะนาลอร์ฟีนสามารถทำลายฤทธิ์เฮโรอีน
ผลกระทบของการติดยาเสพติดหรือสารเสพติด
1. ต่อผู้เสพเอง ผู้ใดติดยาเสพติด ผู้นั้นก็จะได้รับพิษภัยของยาเสพติด ซึ่งจะทำลายผู้ติดยาทั้งทางร่างกายและจิตใจ ดังนี้
ทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีโรคแทรกต่างๆ เกิดขึ้น เช่น ตับแข็ง วัณโรค โรคผิวหนัง
เสียเศรษฐกิจของตน โดยต้องเสียเงินเพื่อซื้อหายาเสพติดมาเสพให้ได้
เป็นบุคคลไร้สมรรถภาพทั้งร่างกายและจิตใจ เฉื่อยชาเกียจคร้าน บางคนทำงานไม่ได้
บุคลิกภาพไม่ดี มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดีและอาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย
มีโทษตามกฎหมาย
2. ต่อครอบครัว
ความรับผิดชอบต่อครอบครัวหรือญาติพี่น้องหมดไป ครอบครัวหมดความสุข และเป็นภาระต่อบุคคลในครอบครัว รวมทั้งทิ้งภาระหนักให้ครอบครัวหากต้องพิการหรือเสียชีวิต
ทำความเดือดร้อนให้ครอบครัว และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของครอบครัว
3. ต่อสังคมหรือชุมชน
เป็นที่รังเกียจของสังคมหรือชุมชน ไม่มีใครอยากคบด้วย เข้าสังคมไม่ได้
เป็นอาชญากร เพราะผู้ติดยาต้องพยายามทุกวิถีทางที่จะให้ได้ยาเสพติด ซึ่งช่วงแรกๆ อาจขอยืมเพื่อนแต่ต่อมาเพื่อนไม่ให้ยืม เพราะยืมแล้วไม่ใช้ ในที่สุดก็ต้องลักขโมยของในบ้านไปขาย เพื่อหาเงินมาซื้อ และนานๆ เข้าก็ต้องลักขโมยของผู้อื่นไปขายหรือวิ่งราวชาวบ้าน ในที่สุดอาจถึงขั้นจี้ชิงทรัพย์ ซึ่งพบข่าวอาชญากรรมในหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยๆ
4. ต่อประเทศชาติ
4.1 ทำลายเศรษฐกิจของชาติ เพราะผู้ติดยาเสพติดคนหนึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 50 บาทต่อวัน ถ้า 5 แสนคนจะประมาณ 25 ล้านบาทต่อวัน หรือ 750 ล้านบาทต่อ 1 เดือน หรือ 9 พันล้านบาทต่อปี ซึ่งเงินจำนวนนี้สามารถนำไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ได้อย่างมากมาย แต่กลับต้องมาสูญเสียในกิจการเช่นนี้ไปอย่างน่าเสียดาย
4.2 บ่อนทำลายความมั่นคงของประเทศ ผู้ติดยาเสพติดจะมีสุขภาพทรุดโทรมทั้งร่างกายและจิตใจตามฤทธิ์ของยาและมีความคิดคำนึงเพียงต้องมียาเสพติดให้ได้เมื่อเวลาอยาก ฉะนั้น ถ้าประเทศใดมีเยาวชนซึ่งจะเป็นพลังของชาติในอนาคตติดยาเสพติดมาก ก็เป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของประเทศมาก ซึ่งต้องระมัดระวังผู้ที่ไม่หวังดีต่อชาติ จะใช้ยาเสพติดเป็นเครื่องมือ เพื่อทำลายความมั่นคงของประเทศ
การใช้ยาในทางที่ผิด
ปัจจัยสำคัญ
/ สิ่งบริโภค
/ หลักปฏิบัติของผู้ใช้ยา
/ ใช้ยาอย่างไรจึงจะปลอดภัย
"ยา" ทุกชนิดมีทั้งคุณและโทษ ถ้าใช้อย่างถูกต้องจะทำให้เกิดประโยชน์อย่างมาก สำหรับโทษที่เกิดจากยามีตั้งแต่โทษเพียงเล็กน้อยจนถึงรุนแรงมาก และถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้น จึงต้องระมัดระวังการใช้เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่จะเกิดจากการใช้ยา
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การใช้ยาเกิดโทษ
1. ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
การใช้ยา ถ้าใช้เป็นระยะเวลานานๆ มักก่อผลเสียมากกว่าผลดี สำหรับผู้ป่วยบางคนอาจจำเป็นต้องใช้ยาบางอย่างติดต่อกันนานๆ ในกรณีเช่นนี้ จำเป็นต้องหมั่นสังเกตความผิดปกติของตนเองที่เกิดจากการใช้ยา ผลเสียที่อาจเกิดจากการใช้ยาติดต่อกันนานๆ ได้แก่
1.1 เกิดพิษที่มีสาเหตุจากฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่สะสม เช่น กระเพาะเป็นแผลทะลุ กระดูกผุ ตาบอด เป็นต้น
1.2 เกิดการดื้อยา เพราะร่างกายเกิดความเคยชินต่อยา จึงทำให้ต้องเพิ่มขนาดการใช้ เพื่อให้ได้ผลในการรักษาเหมือนเดิม
1.3 เกิดการติดยา ทั้งนี้เพราะยาบางชนิด มีคุณสมบัติทำให้เสพติดเมื่อใช้นานๆ จึงเกิดการติดขึ้นได้
1.4 เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ เสียเงินโดยใช่เหตุ เพราะต้องจ่ายเงินซื้อยาที่อาจไม่มีความจำเป็นต่อการรักษา โดยเฉพาะเมื่อเกิดการติดยานั้นๆ
2. การประกอบอาชีพ
การประกอบอาชีพบางประเภท อาจทำให้ผู้ประกอบอาชีพนั้นๆ ใช้ยาบางชนิดมากกว่าธรรมดาซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโทษ เป็นอันตรายจากการใช้ยานั้นเพิ่มขึ้น หรือขณะประกอบอาชีพ ถ้าผู้ใช้ไม่ระมัดระวังการใช้ยาบางชนิดก็จะก่อให้เกิดอันตรายได้ง่ายเช่นกัน เช่น ยาบางชนิดมีผลทำให้ง่วง ถ้าใช้ขณะทำงานที่มีความเสี่ยงอยู่แล้ว จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงมากขึ้น เพราะง่วงนอนจากฤทธิ์ยาที่อาจควบคุมได้ยาก หรือผู้ประกอบอาชีพบางคนอยากทำงานเพิ่มมากขึ้นก็ไปใช้ยากระตุ้น ผลที่สุดเกิดการติดยาเหล่านี้ขึ้น เป็นต้น
3. ความเครียดและความวิตกกังวล
ความเครียดและความวิตกกังวล รวมทั้งการนอนไม่หลับ จะเกิดขึ้นได้กับทุกคน ผู้ที่ไม่สามารถคลายความวิตกกังวลโดยวิธีการอื่นๆ เช่น การออกกำลัง การเล่นดนตรี การระบายให้ผู้อื่นรับรู้เพื่อจะได้สบายใจขึ้น ฯลฯ มักนิยมใช้ยาลดความเครียดและวิตกกังวล ซึ่งยาประเภทนี้เป็นพวกกดประสาทและทำให้เสพติดได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ หรือถ้าหากนำมาใช้ในปริมาณมากๆ อาจทำให้เสียชีวิตได้
4. หลงเชื่อคำโฆษณาและคำชักจูง
เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ควรศึกษาวิธีการที่จะรักษาตนเองอย่างง่ายๆ เช่น การใช้ยาสามัญประจำบ้านมารักษา หรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยบางประเภท ซึ่งควรฝึกวิธีการใช้ยาเหล่านี้อย่างถูกวิธี อย่างไรก็ดีถ้าอาการเจ็บป่วยมากควรไปพบแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง ไม่ควรหลงเชื่อคำโฆษณาเพราะการโฆษณามักเสนอเฉพาะด้านดีของสินค้า อีกประการหนึ่ง "ยา" ไม่ใช่สิ่งที่ควรทดลองอาการเจ็บป่วยของคนเรา แม้อาการจะคล้ายคลึงกันแต่สาเหตุอาจแตกต่างกันได้ เคยพบเสมอว่าผู้ใช้ยาตามคำโฆษณาหรือการชักชวน และการบอกเล่าของผู้ใกล้ชิดทำให้เกิดอาการป่วยมากขึ้น หรือถึงแก่ชีวิตในที่สุด เพราะใช้ยาไม่ถูกกับโรคที่เป็นหรือใช้ผิดวิธี ดังนั้น ถ้าไม่แน่ใจว่าอาการเจ็บป่วยมากหรือน้อย ควรพบแพทย์ หรือปรึกษาการซื้อยาจากเภสัชกรในร้านขายยา
อัตราโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ 2522 / พ.ร.ก.ป้องกันการใช้สารระเหย 2533 / พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามฯ 2534
ข้อหา : ผลิต / นำเข้า / ส่งออก
ประเภท 1 => จำคุกตลอดชีวิต (มาตรา 65 วรรค 1)
=> ถ้ากระทำเพื่อจำหน่าย ประหารชีวิต (มาตรา 65 วรรค 2)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 20 กรัมขึ้นไป ถือว่ากระทำเพื่อจำหน่าย ประหารชีวิต (มาตรา 15, 65)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 68 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน จำคุก 20 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 68 วรรค 2)
ประเภท 3 => จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 70, 20)
=> จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 72, 22)
=> จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 71, 20)
ประเภท 4 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 73)
ประเภท 5 => จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 75)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 75 วรรค 2)
ข้อหา : จำหน่าย / ครอบครองเพื่อจำหน่าย
ประเภท 1 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 5 ปีถึงตลอดชีวิต และปรับ 50,000 บาทถึง 500,000 บาท (มาตรา 66 วรรค 1)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์เกิน 100 กรัม จำคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต (มาตรา 66 วรรค 2)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 2)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 3 ปี ถึง 20 ปี และปรับ 30,000 บาท ถึง 200,000 บาท คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์เกินกว่า 100 กรัม จำคุก 5 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 50,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 3, 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 2)
ประเภท 5 => จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 76 วรรค 2)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 76 วรรค 4)
ข้อหา : ครอบครอง
ประเภท 1 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่ถึง 20 กรัม จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 67)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 20 กรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย (มาตรา 15 วรรค 2, มาตรา 66)
ประเภท 2 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 3 ปี ถึง 20 ปี และปรับ 30,000 บาท ถึง 200,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 3)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 100 กรัมขึ้นไปถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย (มาตรา 17 วรรค 2, มาตรา 69 วรรค 2, 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => ไม่ถึง 10 กิโลกรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
=> 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 26, 74)
ประเภท 5 => ไม่ถึง 10 กิโลกรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
=> 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 26, 76)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 76 วรรค 3)
ข้อหา : เสพ
ประเภท 1 => จำคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี และปรับ 5,000 บาท ถึง 10,000 บาท (มาตรา 91)
ประเภท 2 => จำคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี และปรับ 5,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 91)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 5 => จำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท (มาตรา 92 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท (มาตรา 92 วรรค 2)
ข้อหา : ใช้ให้ผู้อื่นเสพ
ประเภท 1 => ผู้ใช้ต้องระวางโทษเป็น 2 เท่า และถ้ากระทำต่อหญิง หรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ โทษประหารชีวิต (มาตรา 93 วรรค 5)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีน ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพิ่มอีกกึ่งหนึ่ง ถ้าทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะจำคุกตลอดชีวิตและปรับ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 5 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
หมายเหตุ 1. - ผู้ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่นใดให้ผู้อื่นเสพ จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี แลปรับ 10,000 ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
- ถ้าผู้ใช้มีอาวุธ หรือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 ถึง 150,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 2)
- ถ้ากระทำต่อหญิง ผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ เพื่อจูงใจให้ผู้อื่นทำผิดอาญา หรือเพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้อื่นในการกระทำผิดอาญา จำคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 30,000 ถึง 50,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 3)
- ถ้าวัตถุแห่งการกระทำผิด เป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีนเพิ่มโทษอีกกึ่งหนี่ง และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องโทษจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 4)
- ถ้าเป็นยาเสพติดประเภท 1 ต้องระวางโทษเป็นสองเท่า และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะต้องโทษประหารชีวิต (มาตรา 93 วรรค 5)
2. - ถ้ากำลังรับโทษอยู่หรือภายใน 5 ปี นับแต่พ้นโทษได้กระทำผิดกฎหมายนี้อีกให้เพิ่มโทษอีกกึ่งหนึ่งของโทษที่ศาลลงครั้งหลัง (มาตรา 97)
3. - กรรมการ อนุกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดหรือตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล หรือสภาท้องถิ่นอื่น ข้าราชการ พนักงาานส่วนท้องถิ่น พนักงานองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจผู้ใด ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติด สมคบหรือสนับสนุนช่วยเหลือความผิด 5 ฐานข้างต้น ต้องระวางโทษเป็นสามเท่าของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น (พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2500 มาตรา 100 และ พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 10)
แนวทางการป้องกันยาเสพติด
สภาพปัญหา
ปัญหาที่เกิดจากยาเสพติด เป็นปัญหาสังคมปัญหาหนึ่งที่มีความสลับซับซ้อน มีองค์ประกอบ 3 ประการที่เป็นสาเหตุของปัญหา คือ ตัวบุคคล ยาและสิ่งแวดล้อม
1. ตัวบุคคล
มนุษย์ที่ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมจะต้องประสบกับปัญหา อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางร่างกาย ทางอารมณ์ ทางเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ และทางสังคม ผู้ที่ปรับตัวให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลง หรือสภาพนั้นๆ ไม่ได้ ก็จะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากความถูกต้องของสังคม และอาจหันไปใช้ยาเสพติดเป็นทางออกในการแก้ปัญหา
2. ยา
ปัจจุบันมียาชนิดต่างๆ อยู่มากมาย ทั้งที่ถูกกฎหมายและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยตัวของยาเองแล้วนั้นมิได้ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ จนกว่าคนจะนำยานั้นไปใช้ในทางที่ผิด จึงเกิดปัญหาตามมา
3. สิ่งแวดล้อม
มนุษย์จำเป็นต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มสังคม ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ตามสภาพสังคม มนุษย์ทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมและสภาพสิ่งแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ สภาพแวดล้อมเหล่านี้อาจมีส่วนผลักดันทำให้บุคคลหันไปใช้ยาเสพติดได้
ทั้ง 3 สิ่งนี้อยู่ร่วมกันไดั โดยไม่เกิดปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด ถ้าบุคคลนั้นๆ เข้าใจการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง เข้าใจเรื่องการใช้ยา และเข้าใจเรื่องการป้องกันยาเสพติด
การป้องกันยาเสพติดมุ่งไปที่ใคร
การป้องกันยาเสพติดมุ่งดำเนินการพัฒนาที่ตัวบุคคล โดยจะดำเนินการทุกวิธีการที่จะให้การศึกษาและเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายให้มีความเข้าใจในเรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติด วิธีการป้องกันยาเสพติด รู้จักตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่ถูกต้องและเหมาะสมในการแก้ไขปัญหา รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้อยู่ภายใต้พื้นฐานความคิดที่ว่า ถ้าบุคคลนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีแล้ว ก็เปรียบเสมือนมีเกราะป้องกันให้พ้นจากภัยของยาเสพติด
การพัฒนาคุณภาพชีวิตนั้น เป็นอย่างไร
ชีวิตทุกชีวิตมีค่า ทั้งต่อตัวเอง ต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม ถ้าชีวิตทุกชีวิตดำเนินไปอย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม ตามสภาพสังคม ความเป็นอยู่ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักทางเลือกในการแก้ปัญหาชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมก็ไม่เดือดร้อน เรียกได้ว่า คนคนนั้นเป็นผู้มีคุณภาพชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิตจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้คนพ้นจากภัยยาเสพติด หรืออาจกล่าวได้ว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตก็คือการทำให้คนเป็นคนดีที่มีคุณค่า
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
การป้องกันด้วยตนเอง
/ การป้องกันภายในครอบครัว
/ แก้ไขเมื่อสมาชิกติดยาเสพติด
/ การป้องกันภายในชุมชน
ปัญหายาเสพติดไม่ได้เป็นปัญหาของผู้ติดยาเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วย สำหรับผู้ติดยาเสพติดจะบั่นทอนสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ และเป็นที่รังเกียจของสังคม ส่วนผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น พ่อแม่ของผู้ติดยาก็ต้องเป็นทุกข์ เมื่อพบว่ายาเสพติดได้กลายเป็นสิ่งที่ทำลายอนาคตของลูก ญาติ พี่น้อง เกิดความอายที่สมาชิกในครอบครัวติดยา เพื่อนฝูงหรือครูอาจารย์ย่อมไม่ต้องการที่จะเห็นเพื่อนหรือลูกศิษย์ของตนต้องได้รับความทุกข์จากปัญหายาเสพติด นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดยังส่งผลกระทบต่อชุมชนและสังคมด้วย กล่าวคือ ปัญหายาเสพติดทำให้ชุมชนและสังคมต้อสูญเสียบุคคลที่จะช่วยในการพัฒนาประเทศ โดยในแต่ละปีรัฐบาลจะต้องทุ่มเทงบประมาณเป็นจำนวนมาก สำหรับนำมาแก้ไขปัญหายาเสพติดและปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แทนที่จะนำเอาเงินส่วนนี้ไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศในด้านอื่น
ฉะนั้น จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องร่วมมือกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด มิให้เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว และสังคม
ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จุดเริ่มต้นคงจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จุดเริ่มต้นคงจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ตัวเองก่อนแล้วจึงขยายการป้องกันไปยังคนในครอบครัวและเพื่อนรอบข้าง ท้ายที่สุดจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหาไปสู่ชุมชนที่ตัวเองอาศัยอยู่
1. การป้องกันและแก้ไขตนเองจากยาเสพติด
2. การป้องกันและแก้ไขครอบครัวของตนเอง จากปัญหายาเสพติด
3. ถ้าสมาชิกในครอบครัวคนใดคนหนึ่งติดยาเสพติด จะแก้ไขอย่างไร
4. การป้องกันและแก้ไขชุมชนของตนเองให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด
ทำอย่างไรเมื่อตกเป็นตัวประกัน
ภาพและข่าวเหตุการณ์คนร้ายคลั่งยาบ้าจี้จับเด็กและผู้หญิงเป็นตัวประกันมีให้เห็นมาตลอด ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจาก "ยาบ้า" ส่งผลให้ผู้ที่เสพติดมีระบบประสาทผิดปกติ เมื่อถึงจุดหนึ่งจะเกิดอาการหูแว่ว ประสาทหลอน หวาดระแวงจนเกิดความเครียด คิดว่าจะมีคนมาฆ่าหรือทำร้าย บางรายกลัวมากต้องหาอาวุธไว้ป้องกันตัว หรือคลุ้มคลั่งจับตัวประกัน
โดยทั่วไป คนเมายาบ้าที่จับตัวประกัน จะไม่คิดฆ่าตัวประกัน เพราะเขาต้องการเพียงเอาตัวรอด และการที่เขาเลือกจับเด็กหรือผู้หญิงเป็นตัวประกัน เนื่องจากเด็กหรือผู้หญิงจะอ่อนแอกว่า ซึ่งจะขู่บังคับและควบคุมได้ง่าย
เคล็ด (ไม่) ลับกับการสังเกตคนเมายาบ้า
1. อยู่ไม่เป็นสุข ลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่าย
2. หวาดกลัว และระแวงอยู่ตลอดเวลา
3. สีหน้าเลื่อนลอยเหมือนคนไม่ได้นอนหลับพักผ่อน
4. เนื้อตัวสกปรก มอมแมม
ทำอย่างไรดี เมื่อตกเป็นตัวประกัน...
1. ตั้งสติให้ดี พยายามระงับอารมณ์ อย่างตื่นตระหนกตกใจ ควรใจเย็นๆ และอย่าดิ้นหนี เพราะจะเป็นสาเหตุให้ผู้ก่อเหตุตึงเครียด
2. ไม่ควรต่อสู้ขัดขืน แม้มีโอกาสหรือช่องทางก็ตาม เพราะจะเป็นการเสี่ยงต่อการถูกทำร้าย
3. ให้โอนอ่อนผ่อนตาม ยอมทำตามที่ผู้ก่อเหตุขู่บังคับ เพื่อให้เขาอารมณ์เย็นลง เป็นการถ่วงเวลา และรักษาชีวิต จนกว่าเจ้าหน้าที่จะหาทางช่วยเหลือได้
ไทยมุงที่ดี...ควรเป็นอย่างไร
"ไทยมุง" ไม่ว่าจะเป็นใคร พ่อแม่ ญาติพี่น้อง เพื่อนตัวประกัน สื่อมวลชนหรือแม้แต่ผู้ที่บังเอิญเจอเหตุการณ์ ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ไม่ควรตะโกนหรือแสดงอารมณ์ร่วมจนเกินเหตุ
2. ควรทิ้งระยะห่างจากเหตุการณ์พอสมควร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้สะดวก
3. หากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ก่อเหตุ ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่โดยด่วน
4. หากเกิดเหตุในที่ทำงาน ต้องรีบกันพื้นที่ให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องรบกวนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
การตรวจปัสสาวะเพื่อค้นหาผู้เสพยา
ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากเสพ “ยาบ้า” เมทแอมเฟตามีนจะถูกขับออกทางปัสสาวะในรูปเมทแอมเฟตามีนประมาณ 44% และบางส่วนถูกขับออกในรูปที่ถูกเปลี่ยนแปลงเป็นแอมเฟตามีน และ 4 –ไฮดรอกซีเมทแอมเฟตามีน
สำหรับอีเฟดรีนก็เช่นเดียวกัน จะถูกขับออกในรูปของอีเฟดรีนประมาณ 55-75% ส่วนตัวยาที่เหลือจะขับออกในรูปของนอร์อีเฟดรีน กรดเบนโซอิค และกรดฮิปปูริค ดังนั้นจึงสามารถตรวจหาผู้เสพได้จากการตรวจปัสสาวะ
การตรวจพิสูจน์
การดำเนินการแบ่งเป็นขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. เก็บปัสสาวะ
2. การตรวจพิสูจน์เบื้องต้น / การแปลผล
3.การตรวจยืนยันผล / การแปลผล
สถานที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
สถานที่ให้คำปรึกษา / สถานที่บำบัดรักษา / สถานฟื้นฟูสมรรถภาพ
ถ้าบุตรหลานหรือบุคคลในครอบครัวของท่านมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดหรือติดยาเสพติดท่านสามารถที่จะช่วยเหลือเขาเหล่านั้นได้โดยขอรับคำปรึกษาจากหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
1. สำนักพัฒนาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. ถนนดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0-2245-9083-4
2. กองป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์ 0-2248-5746-7
3. หน่วยป้องกันยาเสพติด 1 โทรศัพท์ 0-2465-9663
4. หน่วยป้องกันยาเสพติด 2 โทรศัพท์ 0-2254-2039
5. หน่วยป้องกันยาเสพติด 3 โทรศัพท์ 0-2513-2509
6. หน่วยป้องกันยาเสพติด 4 โทรศัพท์ 0-2391-8118
7. สายด่วนสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 1667
8. สายด่วนกรมการแพทย์ โทรศัพท์ 1165
9. ศูนย์ประสานงานกลางองค์การเอกชนต่อต้านยาเสพติด, ศูนย์อาสาสมัครต่อต้านยาเสพติด สภาสังเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ศ.อ.ส.)
โทรศัพท์ 0-2245-5522, 0-2246-1457-61 ต่อ 501, 502, 415, 416
10. ศูนย์ซับน้ำตาผู้ติดยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ โทรศัพท์ 0-2253-8827
11. ศูนย์ซับน้ำตาผู้ติดยาเสพติด โรงพยาบาลตากสิน โทรศัพท์ 0-2863-1371-2 ต่อ 1146, 1156
12. ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 1 กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ 0-2551-3824, 0-2521-3056, 0-2521-3064, 0-2521-3066
13. ศูนย์สายด่วน (HOT line) กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 1669
14. สมาคมสะมารีตันส์ โทรศัพท์ 0-2249-9977
15. สายด่วนวัยรุ่น โทรศัพท์ 0-2275-6993-4
ศัพท์ในวงการยาเสพติด
เล่น หมายถึง เสพยาเสพติด เช่น เล่นของ หมายถึง เสพเฮโรอีน หรือเล่นเนื้อ หมายถึง เสพกัญชา
โส หมายถึง ผู้ติดยา
ปืน หมายถึง สลิ้งค์ฉีดยา
หมู หมายถึง ฝิ่นที่คลุกยาฉุน ยาเส้น ใบพลู ใบจาก หรือกัญชาใช้ม้วนสูบด้วยกล้อง
จ๊อย หมายถึง หน่วยนับที่ใช้เรียกกับฝิ่น เช่น ฝิ่น 1 จ๊อย น้ำหนักประมาณ 1.6 กิโลกรัม
โช้ค หมายถึง การเสพเฮโรอีนโดยวิธีฉีดเข้าสู่ร่างกายทางเส้นเลือดครั้งหนึ่งก่อน แล้วดูดเลือดออกมาใหม่เพื่อล้างคราบเฮโรอีนที่ยังหลงเหลือในหลอดสลิงค์ให้หมดแล้วฉีดเข้าไปอีกครั้งหนึ่ง
สอย หมายถึง การสูบเฮโรอีนโดยวิธีสอดใส่บุหรี่ หรือใช้ปลายบุหรี่จิ้มสูบ
ดองหรือยาดองหรือเทอร์โบ หมายถึง การนำยาบ้ามาผสมกับเครื่องดื่มชูกำลังเพื่อให้ออกฤทธ์รุนแรงขึ้น ขณะเดียวกันก็เป็นการอำพรางเจ้าเหน้าที่ในการขายด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะพบว่ามีการขายบริเวณปั๊มน้ำมัน หรือสถานีขนส่ง
ผ่อน หมายถึง การเสพเลิกยาเสพติด โดยลดปริมาณยาและจำนวนครั้งในการเสพและใช้ยาอื่นชดเชยด้วย
น็อค หมายถึง เสพยาเสพติดเกินขนาดแล้วหลับหรือหมดสติ
หักดิบ หมายถึง การถอนยาอย่างกระทันหันทำให้เกิดอาการหนาวสั่นและขนลุก ทำให้เกิดปุ่มเล็กๆ บนผิวหนัง (อาการขนลุก) คล้ายกับไก่ที่ถูกถอนขน ฝรั่งเลยเรียกว่า "Cold Turkey" แต่ไทยเรียกว่า "หักดิบ" หรือเป็นการเลิกยาเสพติดโดยหยุดเสพและไม่ได้ใช้ยาอื่นช่วย
พี้ หมายถึง สูบกัญชา
บ้อง หมายถึง อุปกรณ์สำหรับสูบกัญชา
ยำ หมายถึง การเอากัญชามาผสมกับยาเส้นในบุหรี่
โรย หมายถึง การสูบกัญชาผสมเฮโรอีน
เข็มวิปริต หมายถึง พวกติดยาเสพติด ซึ่งเมื่อฉีดแล้วชอบถอนเข็มออก แล้วฉีดกลับเข้าไปใหม่หลายๆ ครั้ง เพื่อความสะใจในอารมณ์ ถือเป็นความสุขที่ได้ทำเช่นนั้น
สปีด (Speed) หมายถึง เมทแอมเฟตามีน โดยทำให้เป็นของเหลวสำหรับฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
สปีดบอล (Speedball) หมายถึง ยาฉีดซึ่งประกอบด้วยยากดประสาท และกระตุ้นประสาท ได้แก่ โคเคนผสมกับเฮโรอีน หรือเมทแอมเฟตามีนผสมกับเฮโรอีน
อดหรือกินยา หมายถึง การเลิกใช้ยาเสพติด โดยการใช้ยาอื่นชดเชย (รักษาตามศูนย์สาธารณสุข)
ติดลึก หมายถึง ติดยาเสพติดมานานแล้ว ยากที่จะเลิกได้
ชน หมายถึง ชื่อเรียกขานการซื้อยาเสพติด
เรือ หมายถึง ผู้รับจ้างซื้อเฮโรอีนหรือรับจ้างจำหน่าย เฮโรอีน
เปรม หมายถึง อาการของผู้ติดยาหลังเสพ
รวบรวมเกร็ดความรู้ยาเสพติด
ยาเสพติดกับอารมณ์ / การออกฤทธิ์ของยาเสพติด / อาการขาดยา / ยาเสพติดทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
บุคลิกภาพกับการเสพติด / อาการติดยาทางกายและทางใจ / ปกป้องลูกจากยาเสพติด
ยาเสพติดกับอารมณ์
ยาเสพติดมีอิทธิพลต่ออารมณ์ ความรู้สึกได้อย่างไร
ยาเสพติดก่อให้เกิดผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของคนเรา โดยการเปลี่ยนแปลงระดับและการทำงานของสารเคมี ที่เป็นตัวรับส่งสัญญาณจากเซลล์สมองเซลล์หนึ่ง ยาเสพติดแต่ละชนิด มีผลกระทบดังนี้
โคเคน จะเข้าไปเกาะบริเวณที่รับสารโดพามีน ทำให้โดพามีน ไม่สามารถซึมกลับเข้าไปในเซลล์ประสาทได้ ผลคือ ทำให้สารโดพามีนในสมองมีระดับสูงซึ่งจะทำให้ผู้เสพเกิดอาการเคลิบเคลิ้ม
สุราและยานอนหลับอาจเข้าไปกระตุ้นการทำงานของสารเคมีในสมองทำให้เกิดอาการง่วงซึม หรือหลับได้ แอลกอฮอล์ยังมีผลต่อสารสื่อประสาทอีกหลายชนิด
เฮโรอีนและสารที่เป็นอนุพันธุ์ของฝิ่นจะมีฤทธิ์คล้ายเอ็นดอร์ฟิน (endorphin) ซึ่งเป็นสารเคมีในสมองที่ระงับความเจ็บปวดเมื่อเฮโรอีนเข้าสู่สมองจะไปยับยั้งการสร้างสารเอ็นดอร์ฟิน ดังนั้น หากหยุดเสพยาอย่างกะทันหันสมองก็จะขาดสารระงับปวดนี้ จึงทำให้เกิดอาการทรมาณขึ้นเมื่อขาดยา
การออกฤทธิ์ของยาเสพติด
ยาเสพติดประเภทกดประสาท (Depressant) จะออกฤทธิ์กดศูนย์ประสาทและอวัยวะต่างๆ ของร่างกายผู้เสพ ดังนี้
1. ออกฤทธิ์ต่อประสาทสมองส่วนกลาง ซีรีเบริล คอร์เทค (Cerebral Cortex) โดยจะกดศูนย์ประสาทสมองส่วนที่รับความรู้สึกให้มึนชา ทำให้ขาดความตั้งใจ ขาดความกระตือรือร้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ทำให้เกิดอาการทางจิตใจเปลี่ยนแปลงไป
2. ออกฤทธิ์ต่อประสาทสมองส่วนเมดัลลารี่ (Medullary Centers) ทำให้ไปกดศูนย์ประสาทการหายใจ ทำให้การหายใจช้า จะทำให้การเต้นของหัวใจช้าลง
3. ออกฤทธิ์ต่อประสาทไขสันหลัง (Spinal Cord) ทำให้เกิดปฏิกิริยามีอาการกระตุ้นต่างๆ เกิดขึ้น
4. ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทต่างๆ ของร่างกาย ทำให้ปรากฏอาการเปลี่ยนแปลงในระบบต่างๆ ของร่างกายผู้เสพดังนี้
ต่อระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinaltract) ทำให้กล้ามเนื้อเกี่ยวกับทางเดินอาหารทำงานสูงขึ้น เพื่อที่จะบังคับให้อุจจาระผ่านออก และถ้าแรงขับของกล้ามเนื้อทางเดินอาหารทำงานสูงขึ้น อาจจะทำให้มีการเคลื่อนไหวในทางตรงข้าม ทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเกิดขึ้นได้ ต่อระบบขับปัสสาวะ (Urinary tract) ทำให้กล้ามเนื้อหูรูดเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะหดตัวทั้งๆ ที่กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะทำงานสูงขึ้นก็ตาม ทำให้ผู้ติดยาเสพติดถ่ายปัสสาวะยากกว่าปกติ
ต่อระบบการไหลเวียนของโลหิต (Circulation) ทำให้เส้นเลือดในช่องท้องหดตัว ทำให้การไหลเวียนของโลหิตในร่างกายไม่เป็นไปตามปกติ จะเห็นได้ว่าผู้ติดยาเสพติดประเภทนี้จะตัวเหลือง อันเนื่องมาจากโลหิตไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงร่างกายไม่ปกติ โลหิตฝอยส่วนปลายทั่วไปขยายตัว
อาการขาดยา
จะเริ่มหลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย 4-10 ชั่วโมง แล้วไม่สามารถหายามาเสพได้อีก จะมีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิด โกรธง่าย ตื่นตกใจง่าย หาวนอนบ่อยๆ น้ำมูกน้ำตาไหล น้ำลาย และเหงื่อออกมาก ขนลุก กล้ามเนื้อกระตุก ตัวสั่น ม่านตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวดท้อง อาเจียน ท้องเดิน บางรายมีอาการรุนแรงถึงขนาดถ่ายเป็นเลือด ที่ภาษาชาวบ้านเรียกว่า "ลงแดง" ผู้ติดยาจะมีความต้องการยาอย่างรุนแรงจนขาดเหตุผลที่ถูกต้อง อาการขาดยานี้จะเพิ่มขึ้นในระยะ 24 ชั่วโมงแรก และจะเกิดมากที่สุด ภายใน 48 - 72 ชั่วโมง และหลังจากนั้นอาการจะค่อยๆ ลดลง
ยาเสพติดทำให้เกิดควาผิดปกติทางจิต
การใช้ยาบางชนิดในปริมาณมาก เป็นเวลานานโดยเฉพาะจำพวกยาบ้าอาจก่อให้เกิดอาการทางจิตที่คล้ายกับอาการของโรคจิตเภท ได้ผลการศึกษาติดตามอาการของผู้เสพยา เป็นเวลา 6 ปี พบว่า 55% ของผู้ที่ใช้ยากระตุ้นประสาท จะเกิดอาการเหมือนโรคจิตเภท แต่ส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นเมื่อหยุดใช้ยา แต่อย่างไรก็ตามยังมีกรณีของผู้ที่ใช้ยาหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี แล้วทำให้เกิดความผิดปกติทางจิตขึ้นด้วยเช่นกัน
บุคลิกภาพกับการเสพติด
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์มุ่งศึกษาถึงวิธีการต่างๆ ที่ยาเหล่านี้เข้าไปแทรกแซงการทำงานของสมอง แต่ความรู้ทางชีวเคมีที่รวบรวมมาได้นั้น ก็อธิบายถึงสาเหตุที่คนเราติดยาได้เพียงบางส่วนเท่านั้น การใช้เหตุผลทางบุคลิกภาพ และสิ่งแวดล้อมก็อธิบายได้เพียงบางส่วนเช่นกัน
สำหรับแนวคิดเรื่องบุคลิกภาพที่มีผลต่อการเสพติดนั้น คงมีความเห็นไม่ลงรอยกันอยู่ คือ พวกหนึ่งก็โทษ "ผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอ" ว่าสร้างปัญหาให้ตนเอง แต่อีกพวกก็ว่าจะไปโทษผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอให้รับผิดชอบต่อพฤติกรรมของตนเองนั้นไม่ได้
แม้ว่าลักษณะทางด้านจิตใจบางอย่าง เช่น มีความภูมิใจในตัวเองต่ำ หรือปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น ความยากจน ปัญหาครอบครัวการคบเพื่อน หรือความกดดันจากสังคม อาจกระตุ้นให้เกิดการใช้ยาเสพติด แต่ข้อเท็จจริงก็แสดงให้เห็นว่ามีผู้ติดยามาจากทุกสาขาอาชีพและยังมีลักษณะจิตใจที่แตกต่างกัน
มีปัจจัยเกี่ยวพันกันอยู่ 3 ประการ ที่มีผลสำคัญต่อการติดยา ได้แก่ ธรรมชาติของยาเสพติดแต่ละชนิด ธรรมชาติของผู้เสพเอง และสภาพแวดล้อมทางสังคม กล่าวคือคนแต่ละคนจะติดยาหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับฤทธิ์ของยาแต่ละชนิด (โดยเฉพาะฤทธิ์ที่จะทำให้เกิดการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ) โดยจะไปมีผลต่อองค์ประกอบทางชีวภาพและอารมณ์รวมทั้งภูมิหลัง และสิ่งแวดล้อมของคนๆ นั้น
อาการติดยาทางกายและทางใจ
ยาเสพติดบางชนิดก่อให้เกิดการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ บางชนิดทำให้เสพติดทางด้านจิตใจเพียงอย่างเดียวแต่เนื่องจากอาการติดยาทั้ง 2 ลักษณะ ต่างเกิดจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีในสมองเหมือนๆ กันความแตกต่างจึงเห็นได้ไม่ชัดเจนนัก
อาการติดยาทางกายเกิดขึ้นได้ใน 2 ลักษณะ คือ อาการดื้อยา เป็นภาวะที่ร่างกายต้องการยาในปริมาณมากขึ้น เพื่อให้เกิดผลเท่าเดิมและอาการถอนยา หรือขาดยาเป็นอาการเจ็บปวดทรมาน ที่เกิดขึ้นหลังจากหยุดเสพยา ยาเสพติดบางชนิด เช่น เฮโรอีนอาจก่อให้เกิดอาการได้ทั้ง 2 ลักษณะ ในขณะที่ยาเสพติดบางชนิดอย่างกัญชา ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอาการเสพติดทางกายแต่อย่างใด มีแต่อาการทางด้านจิตใจเท่านั้น ซึ่งจะทำให้ผู้เสพเกิดความรู้สึกต้องการยานั้นซ้ำแล้วซ้ำอีก
ปกป้องลูกจากยาเสพติด
อะไรคือวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้ลูกไปลองยาเสพติด
มีพ่อแม่น้อยคนนักที่จะนั่งลงพูดคุยกับลูกเรื่องยาเสพติด เว้นเสียแต่ว่า จะสงสัยว่าลูกอาจติดยา ซึ่งในหลายกรณีอาจจะสายเกินไปแล้ว พ่อแม่มักใช้วิธีอบรมและสั่ง "ห้าม" ลูกไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดมากกว่าที่จะอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติดทั้งหลาย รวมทั้งให้คำแนะนำเรื่องการคบเพื่อน ซึ่งอาจชักจูงลูกไปในทางที่ผิด
พ่อกับแม่ที่ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติดต่างๆ ไม่ว่าเป็นบุหรี่ สุรา หรือยาเสพติดย่อมทำให้ลูกเข้าใจเหตุผลที่ถูกสั่งห้าม จึงเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด ลูกควรมีความรู้เรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ส่วนพ่อแม่เองก็ควรจะต้องมีความเข้าใจถึงผลของยาเสพติด ที่มีต่อพัฒนาการทางร่างกาย และจิตใจของลูก จะได้อธิบายให้ลูกฟังได้อย่างชัดเจน
ไม่ควรอนุญาตให้ลูกไปงานเลี้ยง หรือร่วมกิจกรรมที่คุณสงสัยว่า อาจจะมียาเสพติดเข้ามาเกี่ยวข้อง ที่สำคัญพ่อแม่ที่ปรารถนาให้ลูกวัยรุ่นของตนรอดพ้นจากปัญหายาเสพติด ไม่ควรทำตัว "ปากว่าตาขยิบ" อย่าลืมทบทวนตัวคุณเองด้วยว่า คุณดื่มเหล้า หรือสูบบุหรี่มากน้อยแค่ไหน หรือให้ดีก็ควรเลิกเสียทั้งหมดและควรเปิดโอกาสให้ลูกพูดคุยอย่างตรงไปตรงมา เกี่ยวกับทัศนคติของคุณต่อยาเสพติดทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย
ยาเสพติดมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายอาชีพ จึงมีผู้ให้ความหมายแตกต่างกัน ตามความเกี่ยวพันของยาเสพติดที่มีต่อวิชาชีพของบุคคลนั้นๆ เช่น ยาเสพติดใน
ความหมาย ของเภสัชกร คือ สิ่งที่ก่อให้เกิดพิษเรื้อรัง และปรากฏอาการของโรคอย่างชัดเจน ภายหลังเมื่อหยุดเสพ แต่
ความหมาย ในทัศนะของนักสังคมสงเคราะห์ คือสิ่งที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนในสังคม
ความหมาย ในทัศนะของนักกฎหมาย คือสิ่งที่ทำให้เกิดพิษ และพิษของมันเป็นต้นเหตุแห่งอาชญากรรม
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงพอให้ความหมายโดยทั่วไปและความหมายตามกฎหมายดังนี้
ความหมายโดยทั่วไป หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์ของธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพหรือรับเข้าสู่ร่างกายซ้ำๆ กันแล้ว ไม่ว่าโดยวิธีการใดๆ เป็นช่วงระยะๆ หรือนานติดต่อกันก็ตามจะทำให้บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อิทธิพลของสารนั้น ทางด้านจิตใจหรือรวมทั้งทางด้านร่างกายและอาจต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้สุขภาพของผู้เสพนั้นเสื่อมโทรมลง ประการสำคัญ เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพและจะมีอาการผิดปกติทางด้านจิตใจหรือรวมทั้งทางด้านร่างกาย เมื่อไม่ได้เสพ
ความหมายของพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 "ยาเสพติดให้โทษ" หมายถึง ยา หรือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ หรือพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธีกิน ดม สูบ หรือ ฉีดแล้วจะทำให้เกิดผลต่อร่างกาย และจิตใจ ในลักษณะสำคัญ ดังนี้
1. ต้องเพิ่มขนาดการเสพมากขึ้นเรื่อยๆ
2. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกาย และจิตใจ อย่างรุนแรง ตลอดเวลา
3. เมื่อถึงเวลาเสพแต่ไม่ได้เสพ จะทำให้เกิดอาการขาดยา
4. สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง
ชนิดของยาเสพติด
ยาเสพติด สามารถแบ่งได้ ตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
ก. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ได้แก่
1. ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตได้มาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา
2. ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน
ข. แบ่งตามพราะราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้แก่
ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงไม่เป็นประโชน์ทางการแพทย์ เช่น เฮโอีน (Heroin) แอมเฟตามีน (Amphetamine) เมทแอมเฟตามีน (Metham phetamine) แอลเอสดี (LSD) เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) หรือ MDMA
ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น ฝิ่น (Opium) มอร์ฟีน (Morphine) โคเคนหรือโคคาอีน เมทาโดน (Methadone)
ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเดอีนผสมอยู่
ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อะเซติคแอนไฮไดรด์ (Aceticanhydride) อะเซติลคลอไรด์ (Acetylchloride) เอทิลิดีนไดอาเซเตด (Ethylidinediacetate) ไลเซอร์จิค อาซิค (Lysergic Acid)
ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น พืชกัญชา พืชกระท่อม พืชผิ่น (ซึ่งหมายความรวมถึงพันธุ์ฝิ่น เมล็ดฝิ่น กล้าฝิ่น ฟางฝิ่น พืชเห็ดขี้ควาย)
ค. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ได้แก่
1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท สารระเหย
2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคคาอีน
3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดขี้ควาย
4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาร (อาจกด กระตุ้นหรือหลอนประสทร่วมกัน) เช่น กัญชา
ง. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก
องค์การอนามัยโลกได้จัดแบ่งยาเสพติดออกเป็น 9 ประเภท ได้แก่
1. ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน เช่น ฝิ่น มอร์พีน เฮโรอีน เพธิดีน
2. ประเภทบาบิทูเรทรวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน เช่น เซโคบาร์บิตาล อะโมบาร์บิตาล พาราลดีไฮล์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม คลอไดอาชีพอกไซด์
3. ประเภทแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้
4. ประเภทแอมเฟตามีน เช่น แอมเฟตามีน เดกซ์แอมเฟตามีน
5. ประเภทโคเคน เช่น โคเคนใบโคคา
6. ประเภทกัญชา เช่น ใบกัญชา ยางกัญชา
7. ประเภทคัท เช่น ใบคัท ใบกระท่อม
8. ประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เมสคาลีน เมล็ดมอร์นิ่งโกลลี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด
9. ประเภทอื่นๆ เป็นพวกที่ไม่สามารถเข้าประเภทใดได้ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด บุหรี่
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
ฝิ่น (Opium)
ฝิ่น เป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ในเนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมายประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์ เป็นแอลคะอลยด์ (Alhaloid) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฝิ่นกลายเป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง แอลคะลอยด์ ในฝิ่นแบ่งแยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์ทำให้เกิดอาการมึนเมา และเป็นยาเสพติดให้โทษโดยตรงแอลคะลอยด์ประเภทนี้ทางเภสัชวิทยา ถือว่า เป็นยาทำให้นอนหลับ (Hypnotic) แอลคะลอยด์ที่เป็นสารเสพติดซึ่งออกฤทธิ์ตัวสำคัญที่สุดในฝิ่น คือ มอร์ฟีน (Morphine)
ประเภทที่ 2 ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อหย่อนคลายตัว ซึ่งในทางเภสัชวิทยาถือว่า แอลคะลอยด์ ในฝิ่นประเภทนี้ ไม่เป็นสารเสพติด แต่มีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายหย่อนคลายตัว ซึ่งมีปาเวอร์รีน (Papaverine) เป็นตัวสำคัญ
ฝิ่นเป็นพืชล้มลุกขึ้นในที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 3,000 ฟุตขึ้นไป เป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีนและโคเดอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่นมากทางภาคเหนือของประเทศไทย บริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำ
เนื้อฝิ่นได้มาจากยางของผลฝิ่น ที่ถูกกรีดจะมีสีขาว เมื่อถูกอากาศจะมีสีคล้ำลง กลายเป็นยางเหนียวสีน้ำตาลไหม้ หรือดำ มีกลิ่นเหม็นเขียว และรสขม เรียกว่า ฝิ่นดิบ ส่วนฝิ่นที่มี การนำมาใช้เสพ เรียกว่า ฝิ่นสุก ได้มาจากการนำฝิ่นดิบไปต้มหรือเคี่ยวจนสุข
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ฝิ่นออกฤทธิ์กดระบบประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ
มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
จิตใจเลื่อยลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิดเชื่องช้า ไม่รู้สึกหิว ชีพจรเต้นช้า
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (เฮโรอีน) / การบรรจุเฮโรอีน / การเลิกเสพเฮโรอีน
เฮโรอีน (Heroin)
เฮโรอีน เป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมีจากปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic anhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl chloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตต (Ethylidene diacetate) โดยนักวิจัยชาวอังกฤษ ชื่อ C.R. Wright ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์ เฮโรอีนจากมอร์ฟีนโดยใช้น้ำยาอาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic anhydride) และบริษัทผลิตยาไบเออร์ (Bayer) ได้นำมาผลิตเป็นยาออกสู่ตลาดโลก ในชื่อทางการค้าว่า "Heroin" และนำมาใช้แทนมอร์ฟีนอย่างแพร่หลาย หลังจากที่มีการใช้เฮโอีนในวงการแพทย์นานถึง 18 ปี จึงทราบถึงอันตรายและผลที่ทำให้เกิดการเสพติดที่ให้โทษอย่างร้ายแรงจนปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกกฎหมายระบุให้เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษ ห้ามมิให้ผู้ใดมีไว้ในครอบครอง
หลังจากนั้นต่อมาอีก 35 ปี คือ เมื่อปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่ระบาดสู่ประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจึงออกกฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษ
เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออกฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า โดยทั่วไปเฮโรอีน จะมีลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น และแบ่งได้เป็น 2 ประเภท เช่นเดียวกับมอร์ฟีน ได้แก่ เฮโรอีนเบส (Heroin base) ซึ่งมีคุณลักษณะเด่น คือ ไม่ละลายน้ำ ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ เกลือของเฮโรอีน (Heroin salt) เช่น เฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ (Heroin hydrochloride)
เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. เฮโรอีนผสม หรือเรียกว่า เฮโรอีนเบอร์ 3 หรือไอระเหย เป็นเฮโรอีนที่มีความบริสุทธิ์ต่ำ เนื่องจากมีการผสมสารอื่นเข้าไปด้วย เช่น ผสมสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ คาเฟอีน แป้ง น้ำตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงอ่อน สีชมพูอ่อน สีน้ำตาล อาจพบในลักษณะเป็นผง เป็นเกล็ดหรืออัดเป็นก้อนเล็กๆ มีวิธีการเสพโดยการสูดเอาไอสารเข้าร่างกาย จึงเรียกว่า "ไอระเหย" หรือ "แคป"
2. เฮโรอีนเบอร์ 4 เป็นเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ที่มีความบริสุทธิ์สูง มีลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ดคล้ายไข่ปลา หรือพบในลักษณะอัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีสีขาวหรือสีครีม ไม่มีกลิ่น มีรสขม เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า “ผงขาว” มักเสพโดยนำมาละลายน้ำแล้วฉีดเข้าร่างกาย หรือผสมบุหรี่สูบ
อาการผู้เสพ :
1. มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดตามข้อ ปวดสันหลัง ปวดบั้นเอว ปวดหัวรุนแรง
2. มีอาการจุกแน่นในอก คล้ายใจจะขาด อ่อนเพลียอย่างหนัก หมดเรี่ยวแรง มีอาการหนาวๆ ร้อนๆ อึดอัดทุรนทุราย นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย บางรายมีอาการชักตาตั้ง น้ำลายฟูมปาก ม่านตาดำหดเล็กลง
3. ใจคอหงุดหงิดฟุ้งซ่าน มึนงง หายใจไม่ออก
4. ประสาทเสื่อม ความจำเสื่อม
โทษทางร่างกาย :
1. โทษต่อผิวหนัง เป็นอาการที่ทำให้เส้นเลือดใต้ผิวหนังเกิดการขยายตัว เกิดเป็นตุ่มแดงเล็กๆ ขึ้นบริเวณผิวหนัง และกระตุ้นสารฮิสตามีน ( Histamine ) และกระตุ้นต่อมเหงื่อด้วย อาการนี้พบได้หลังจากที่เสพเฮโรอีนใหม่ๆ จะมีอาการคันใต้ผิวหนัง นอกจากนี้ ผู้เสพจะมีเหงื่อออกมากกว่าปกติและขนลุก
2. โทษต่อลำไส้ ทำให้ลำไส้บิดตัวลดลง ผู้เสพจึงมีอาการท้องผูก
3. กดศูนย์การหายใจ ทำให้หายใจช้ากว่าปกติ ถ้าใช้ในปริมาณมากจะทำให้หัวใจหยุดเต้นได้
4. ทำลายฮอร์โมนเพศ ถ้าผู้เสพเป็นเพศหญิง จะทำให้ประจำเดือนมาผิดปกติ ถ้าผู้เสพเป็นเพศชาย จะทำให้ฮอร์โมนเพศลดลง ไม่มีความรู้สึกต้องการทางเพศ
5. ทำลายระบบภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย ผู้เสพจึงมีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่าย อาการที่พบเห็นภายนอก คือ ผิวหนังมีอาการติดเชื้อ เป็นแผลพุพอง ติดเชื้อวัณโรค ติดเชื้อโรคตับอักเสบ นอกจากนี้ผู้เสพติดเฮโรอีนจะทำให้ติดโรคเอดส์ได้ง่ายกว่าปกติ เพราะผู้เสพมักใช้เข็มฉีดยาที่ไม่ได้ทำความสะอาด หรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกันจนทำให้ติดเชื้อ HIV
ผู้เสพติดเฮโรอีนที่ติดเชื้อ HIV ก็จะเป็นผู้แพร่ระบาด HIV เนื่องจากการจับกลุ่มใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือในบางครั้งก็มีเพศสัมพันธ์ร่วมกันโดยไม่ได้ป้องกัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
เฮโรอีนออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกายอย่างรุนแรง
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
โคเคน (Cocaine)
โคเคน หรือ โคคาอีน เป็นยาเสพติด ที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นต้นไม้ที่นิยมลักลอบปลูกมากในประเทศแถบอเมริกาใต้ เช่น เปรู โบลิเวีย และโคลัมเบีย เป็นต้น ในใบโคคาจะมีโคเคนอยู่ประมาณ 2% โคเคนมีชื่อเรียกในกลุ่มผู้เสพว่า COKE, SNOW, SPEED BALL, CRACK โคเคนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ โคเคนเบส (Cocaine base) และเกลือโคเคน เช่น โคเคนไฮโดรคลอไรด์ (Cocaine hydrochloride) และโคเคนซัลเฟต (Cocaine sulfate) โคเคนที่พบในประเทศไทย มี 2 ชนิด ได้แก่
1. โคเคนชนิดผง มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น
2. โคเคนรูปผลึกเป็นก้อน (Free base, Crack)
วิธีการเสพ :
1. การสูดโคเคนผงเข้าทางจมูก หรือเรียกว่า การนัตถุ์
2. การละลายน้ำฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
3. การสูดควัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
โคเคนออกฤทธ์กระตุ้นประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการและปริมาณที่เสพ
มีอาการทางจิตใจ
มีอาการขาดยาทางร่างกายแต่ไม่รุนแรง
อาการผู้เสพ :
หัวใจเต้นแรง ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย ตัวร้อนมีไข้ นอนไม่หลับ มีอาการซึมเศร้า
โทษที่ได้รับ :
ผนังจมูกขาดเลือดทำให้เยื่อบุโพรงจมูกฝ่อ ขาดหรือทะลุ สมองถูกกระตุ้นอย่างรุนแรง ทำให้เกิดอาการชัก มีเลือดออกในสมอง เนื้อสมองตายเป็นบางส่วน หัวใจถูกกระตุ้นอยู่เสมอ กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมลงทีละน้อยจนหัวใจบีบตัวไม่ไหว ทำให้หัวใจล้มเหลว ผลจากการเสพเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดอาการโรคจิต ซึมเศร้า
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (ยาบ้า)
/
ยาบ้ากับเรื่องเพศ
ยาบ้า
ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมีประเภท
แอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพร่ระบาดอยู่ 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (Amphetamine Sulfate) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetmine Hydrochloride) ซึ่งจากผลการตรวจพิสูจน์ยาบ้าปัจจุบัน ที่พบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกือบทั้งหมดมีเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ผสมอยู่
ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้ำหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีน้ำตาล สีม่วง สีชมพู สีเทา สีเหลืองและสีเขียว มีสัญลักษณ์ ที่ปรากฎบนเม็ดยา เช่น ฬ, m, M, RG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจันร์เสี้ยว, 99 หรืออาจเป็นลักษณะของเส้นแบ่งครึ่งเม็ด ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้ อาจปรากฏบนเม็ดยาด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้าน หรืออาจเป็นเม็ดเรียบทั้งสองด้านก็ได้
วิธีการเสพ :
วิธีการเสพยาบ้าทำได้หลายวิธี เช่น รับประทาน หรือนำไปผสมลงใน เครื่องดื่มครั้งละ 1/4, 1/2 หรือ 1-2 เม็ด หรือบางครั้งอาจใช้วิธีฉีดเข้าเส้น แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม วิธีที่นิยมมากที่สุด ได้แก่ วิธีสูบ หมายถึง การใช้หลอดสูบเอาควันที่ได้จากการเผาไหม้เม็ดยาเข้าทางปากคล้ายกับการสูบบุหรี่ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่มีอันตรายต่อร่างกายอย่างยิ่ง เพราะตัวยาจะออกฤทธิ์ต่อร่างกายอย่างรุนแรงและรวดเร็วกว่าวิธีการเสพในรูปแบบอื่น
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทำให้ร่างกายตื่นตัว หัวใจเต็นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะรู้สึกอ่อนเพลียมากกว่าปกติ ประสาทล้า ทำให้การตัดสินใจช้าและผิดพลาดเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง เสียสติ เป็นบ้าอาจทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ หรือในกรณีที่ได้รับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาท และระบบการหายใจ ทำให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้
โทษที่ได้รับ :
การเสพยาบ้าก่อให้เกิดผลร้ายหลายประการ ดังนี้
1. ผลต่อจิตใจ เมื่อเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจำนวนมาก จะทำให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ กลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น เกิดอาการหวาดกลัว ประสาทหลอนซึ่งโรคนี้หากเกิดขึ้นแล้ว อาการจะคงอยู่ตลอดไป แม้ในช่วงเวลาที่ไม่ได้เสพยาก็ตาม
2. ผลต่อระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะมีอาการประสาทล้า ทำให้การตัดสินใจเรื่องต่างๆ ช้า และผิดพลาดหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม หรือกรณีที่ใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทำให้หมดสติและถึงแก่ความตายได้
3. ผลต่อพฤติกรรม ฤทธิ์ของยาจะกระตุ้นสมองส่วนที่ควบคุมความก้าวร้าวและความกระวนกระวายใจ ดังนั้น เมื่อเสพยาบ้าไปนานๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป คือ ผู้เสพจะมีความก้าวร้าวเพิ่มขึ้นและหากยังใช้ต่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงว่าจะมีคนมาทำร้ายตนเองจึงต้องทำร้ายผู้อื่นก่อน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
แอลเอสดี (LSD : Lysergic acid diethylamide)
207
208
209
210
211
Double-headed
serpent Black rings Skull design B Red spot Buddha
223 224 225 226 227
Mr Zippy Bat Design Black
liahtning Smiley
blue eyes Strawberry
แอลเอสดี เป็นสารสกัดจากกรดไลเซอจิกที่มีในเชื้อราชนิดหนึ่งชอบขึ้นในข้าวไรย์ มีลักษณะเป็นผงละลายน้ำได้ อาจพบแอลเอสดีเป็นเม็ดยาแคปซูล หรือผสมในทอฟฟี่ ที่พบว่าแพร่ระบาดมากมีลักษณะเป็นแผ่นกระดาษชุบหรือเคลือบสารแอลเอสดี และปรุแบ่งเป็นชิ้นเล็กๆ ลักษณะเดียวกับแสตมป์ แต่มีขนาดเล็กกว่าแสตมป์ โดยบนแผ่นกระดาษที่เคลือบสารแอลเอสดีนั้นจะมีสัญลักษณ์หรือรูปภาพต่างๆ แอลเอสดีมีความรุนแรงในการออกฤทธิ์ต่อสมองสูงคือใช้ในปริมาณแค่ 25 microgram (25/1 ล้านส่วนของกรัม) แอลเอสดีมีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น เมจิคเปเปอร์ แอสซิสแสตมป์
วิธีการเสพ :
การเสพอาจทำได้หลายวิธี เช่น การฉีด หรือการนำกระดาษที่เคลือบแอลเอสดีอยู่มาเคี้ยว หรืออม หรือวางไว้ใต้ลิ้น
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ไม่มีอาการเสพติดทางร่างกาย มีอาการเสพติดทางจิตใจ
อาการผู้เสพ :
เคลิบเคลิ้ม ฝันเฟื่อง ความดันโลหิตสูง อุณหภูมิในร่างกายสูง หายใจไม่สม่ำเสมอ
โทษที่ได้รับ :
ฤทธิ์ของยาจะทำให้ผู้เสพเห็นภาพลวงตา หูแว่ว เพ้อฝัน คิดว่าตนเองเป็นผู้วิเศษ หรือคิดว่าเหาะได้อาจมีอาการทางจิตประสาทรุนแรง มีอาการหวาดระแวง เกิดอาการกลัว ภาพหลอน (Bad Trip) จึงต้องหนีจากความหวาดกลัว เช่น การขับรถหนี หรือเหาะหนี หรือฆ่าตัวตายเพราะความหวาดกลัว
โทษทางกฎหมาย :
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด ให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก(บุหรี่) / เติบโตอย่างสดใส ห่างไกลจากภัยบุหรี่ / รณรงค์คนรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่ / วิธีการเลิกบุหรี่
บุหรี่ (Cigaratte)
บุหรี่ มีสารต่างๆ หลายชนิด แต่สารสำคัญที่ทำให้เกิดการเสพติดคือ นิโคติน เป็นสารแอลคะลอยด์ที่ไม่มีสี นิโคติน 30 มิลลิกรัมสามารถทำให้คนตายได้ บุหรี่ธรรมดามวนหนึ่งจะมีนิโคตินอยู่ราว 15-20 มิลลิกรัม ก็คือจำนวนนิโคตินในบุหรี่ 2 มวน สามารถทำให้คนตายได้ในทันที แต่การที่สูบบุหรี่ติดต่อกันหลายมวนแล้วไม่ตาย ก็เพราะว่ามีนิโคตินในควันบุหรี่ เป็นส่วนน้อยที่เข้าสู่ร่างกายของผู้สูบ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
บุหรี่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ไม่มีอาการเสพติดทางร่างกาย มีอาการเสพติดทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
ตาแห้ง ตาแดง ริมฝีปากแห้งเขียว เล็บเหลือง ฟันมีคราบดำจับ มือสั้น ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น หลอดลมอักเสบเกิดอการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินหายใจ ไอ เสียงแหบ
โทษที่ได้รับ :
นิโคตินจะออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจให้ทำงานหนัก และในขณะเดียวกัน จะทำให้หลอดเลือดหดตัวอันเป็นสาเหตุของโรคหัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง ถ้าผู้สูบบุหรี่เป็นหญิงมีครรภ์จะทำให้แท้งได้ง่ายหรือทารกที่คลอดออกมาจะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ
บุหรี่ที่มีก้นกรองและไม่มีก้นกรองอย่างไหนมีอันตรายกว่ากัน
จากการศึกษาพบว่าบุหรี่นั้นมีอันตรายไม่ว่าจะมีหรือไม่มีก้นกรองก็ตาม เพราะจากการวัดปริมาณสารทาร์ และสารนิโคติน พบว่าบุหรี่ที่มีก้นกรองและไม่มีก้นกรองผู้สูบจะได้รับปริมาณสารทาร์และสารนิโคตินเท่ากัน แต่อาจป็นไปได้ว่าบุหรี่ที่มีก้นกรองอาจจะกรองสารอื่นที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ออกไปจากควันบุหรี่ได้บ้าง จะเห็นได้ว่าแม้แต่ในต่างประเทศซึ่งส่วนใหญ่จะชอบสูบบุหรี่ก้นกรอง ก็ยังพบว่าผู้สูบบุหรี่ที่มีก้นกรองนั้นได้รับพิษภัยจากบุหรี่เป็นจำนวนมาก และรัฐบาลต่างประเทศก็รณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่ก้นกรองอยู่ตลอดเวลา
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
เห็ดขี้ควาย
เห็ดขี้ควาย เป็นเห็ดพิษซึ่งขึ้นอยู่ตามกองมูลควายแห้ง สีของเห็ดจะมีสีเหลืองซีดคล้ายสีฟางแห้ง บนหัวของร่มจะมีสีน้ำตาลเข็มจนถึงสีดำ บริเวณก้าน (Stalk) ที่ใกล้จะถึงตัวร่ม จะมีแผ่นเนื้อเยื่อบางๆ สีขาวแผ่ขยายออกรอบก้าน แผ่นนี้มีลักษณะคล้ายวงแหวน
เห็ดขี้ควายมีขึ้นอยู่ทั่วไปแทบทุกภาคของประเทศ ลักษณะของเห็ดตัวสมบูรณ์และโตเต็มที่ ตรงบริเวณหมวกจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6.5 - 8.8 เซนติเมตร ความสูงของลำต้นประมาณ 5.5 - 8.0 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 - 1.0 เซนติเมตร
เห็ดขี้ควาย เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในบรรดานักท่องเที่ยวว่า "Magic Mushroom" มีการแพร่ระบาดอยู่ในกลุ่มนักท่องเที่ยวบางกลุ่ม และในบางพื้นที่ของประเทศ เช่น ภาคใต้
อาการผู้เสพ :
ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล สำหรับคนไทยส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภคเห็นชนิดนี้เลย เพราะทราบว่าเป็นเห็ดพิษ กินเข้าไปแล้วจะรู้สึกร้อนวูบวาบตามเนื้อตามตัว แน่นหน้าอก ไม่สบาย บางครั้งคลื่นไส้อาเจียน
โทษที่ได้รับ :
ในเห็ดขี้ควาย มีสารออกฤทธิ์ทำลายประสาทอย่างรุนแรง คือ ไซโลซีนและไซโลไซบีนผสมอยู่เมื่อบริโภคเข้าไปทำให้มีอาการเมาเคลิ้มและบ้าคลั่งในที่สุด นอกจากนั้นหากบริโภคเข้าไปมากๆ หรือผู้ที่มีภูมิต้านทานน้อย อาจทำอันตรายถึงแก่ชีวิต
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
หน้าแรก (ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี)
/
ยาอี...มีหลายชื่อ
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy)
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้างทางเคมี เท่าที่พบส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญ คือ 3,4 Methylenedioxy methamphetamine (MDMA), 3,4 Methylenedioxy amphetamine (MDA) และ 3,4 Methylenedioxy ethamphetamine (MDE หรือ MDEA) ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่างๆ แต่ที่พบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.2 เซนติเมตร หนา 0.3-0.4 เซนติเมตร ผิวเรียบและปรากฏสัญลักษณ์บนเม็ดยาเป็นรูปต่างๆ เช่น กระต่าย, ค้างคาว, นก, ดวงอาทิตย์, P.T. ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเป็นเม็ด จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิ์ยาจะอยู่ในร่างกายได้นานประมาณ 6-8 ชั่วโมง
ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี เป็นยาที่แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออกฤทธิ์ใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทในระยะสั้นๆ หลังจากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ฤทธิ์ของยาจะทำให้ผู้เสพรู้สึกร้อน เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ อันเป็นสาเหตุที่จะนำไปสู่พฤติกรรมเสื่อมเสียต่างๆ และจากการค้นคว้าวิจัยของแพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน พบว่า ยาชนิดนี้มีอันตรายร้ายแรง แม้จะเสพเพียง 1-2 ครั้ง ก็สามารถทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ส่งผลให้ผู้เสพมีโอกาสติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย และยังทำลายเซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่ส่งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการควบคุมอารมณ์ให้มีความสุข ซึ่งผลจากการทำลายดังกล่าว จะทำให้ผู้เสพเข้าสู่สภาวะของอารมณ์ที่เศร้าหมองหดหู่อย่างมาก และมีแนวโน้มการฆ่าตัวตายสูงกว่าคนปกติ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทในระยะสั้นๆ จากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาท มีอาการติดยาทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหติสูง ระบบประสาทการรับรู้เปลี่ยนแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทำให้การได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
โทษที่ได้รับ :
การเสพยาอีก่อให้เกิดผลร้ายหลายประการ ดังนี้
1. ผลต่ออารมณ์ เมื่อเริ่มเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทให้ผู้เสพรู้สึกตื่นตัวตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้เป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ
2. ผลต่อการรับรู้ การรับรู้จะเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นจริง
3. ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทำลายระบบประสาททำให้เซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่หลั่งสารซีโรโทนิน (Seortonin) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการควบคุมอารมณ์นั้นทำงานผิดปกติ กล่าวคือ เมื่อยาอีเข้าสู่สมองแล้วจะทำให้เกิดการหลั่งสาร "ซีโรโทนิน" ออกมามากเกินกว่าปกติ ส่งผลให้จิตใจสดชื่นเบิกบาน แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป สารดังกล่าวจะลดน้อยลงทำให้เกิดอาการซึมเศร้า หดหู่อย่างมาก อาจกลายเป็นโรคจิตประเภทซึมเศร้า (Depression) และอาจเกิดสภาวะอยากฆ่าตัวตาย นอกจากนี้ การที่สารซีโรโทนินลดลงยังทำให้ธรรมชาติของการหลับนอนผิดปกติ จำนวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลับไม่สนิท จึงเกิดอาการอ่อนเพลียขาดสมาธิในการเรียนและการทำงาน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
มอร์ฟีน (Morphine)
มอร์ฟีน เป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ของฝิ่นที่สำคัญที่สุดซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้ฝิ่นมีฤทธิ์เดชแห่งความมึนเมา ชาวเยอรมันชื่อ SERTURNER เป็นผู้สกัดจากฝิ่นเมื่อปี ค.ศ. 1803 (พ.ศ. 2346) ได้เป็นครั้งแรก ฝิ่นชั้นดี จะมีมอร์ฟีนประมาณ 10% - 16% ฝิ่นหนัก 1 ปอนด์นำมาสกัดจะได้มอร์ฟีนประมาณ 0.22 ออนซ์ หรือ 6.6 กรัม มอร์ฟีนมีลักษณะ 2 รูป คือ รูปอิสระ (Free) และรูปเกลือ (Salt) สำหรับที่มีลักษณะเป็นรูปของเกลือ ได้แก่ ซัลเฟท (Sulfate) ไฮโดรคลอไรท์ (Hydrochloride) อาซิเตท (Acetate) และทาร์เตรท (Tartrate) มอร์ฟีนรูปเกลือที่นิยมทำมาก คือ Sulfate ในปัจจุบันมอร์ฟีนสามารถทำขึ้นได้โดยการสังเคราะห์ด้วยกรรมวิธีทางเคมีแล้ว
มอร์ฟีน เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขม มีฤทธิ์สูงกว่าฝิ่น เสพติดได้ง่าย มีลักษณะเป็นเม็ด เป็นผง และเป็นก้อน หรือละลายบรรจุหลอดสำหรับฉีด นำเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีฉีดเป็นส่วนมาก มอร์ฟีนใช้เป็นยาหลักหรือมาตรฐานของยาแก้ปวด ยาจำพวกนี้กดระบบประสาทส่วนกลาง ลดความรู้สึกเจ็บปวด ทำให้รู้สึกง่วงหลับไป และลดการทำงานของร่างกายอาการข้างเคียงอื่นๆ ก็คือ อาจทำให้คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันบริเวณใบหน้า ตาแดงเพราะโลหิตฉีด ม่านตาดำหดตีบ และหายใจลำบาก
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
มอร์ฟีนออกฤทธิ์กดระบบประสาท
มีอาการเสพติดทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันหน้า ตาแดง ซึม ง่วงนอน ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
สารระเหย (Inhalant)
สารระเหย (Inhalant) คือ สารที่ได้จากขบวนการสกัดน้ำมันปิโตรเลียม มีลักษณะเป็นไอระเหยได้ในอากาศ ประกอบด้วย Toluene, Acetone, Butane, Benzen, Trichloroe Thylene ซึ่งพบในกาว แลคเกอร์ ทินเนอร์ น้ำมันเบนซิน ยาล้างเล็บ เมื่อสูดดมเข้าไปจะทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
อาการผู้เสพ :
ผู้เสพจะมีอาการเคลิบเคลิ้ม ศรีษะเบาหวิว ตื่นเต้น พูดจาอ้อแอ้ พูดไม่ชัด น้ำลายไหลออกมามาก เนื่องจากสารที่สูดดมเข้าไปทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุภายในจมูกและปาก การสูดดมลึกๆ หรือซ้ำๆ กัน แม้ในช่วงเวลาสั้นๆ ทำให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ทำให้ขาดสติหรือเป็นลมชัก กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน ระบบประสาทอัตโนมัติ (Reflexes) ถูกกด มีเลือดออกทางจมูก หายใจไม่สะดวก
โทษที่ได้รับ :
1. ระบบทางเดินหายใจ มีอาการระคายเคืองหลอดลม เยื่อบุจมูกมีเลือดออก หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
2. ระบบทางเดินอาหาร มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตับถูกทำลาย
3. ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตอักเสบจนถึงพิการ ปัสสาวะเป็นเลือด เป็นหนอง หรือมีลักษณะคล้ายไข่ขาว
4. ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นผิดปกติ
5. ระบบสร้างโลหิต ไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่สร้างเม็ดโลหิตหยุดทำงานเกิดเม็ดโลหิตแดงต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ ทำให้ซีด เลือดออกได้ง่าย ตลอดจนทำให้เลือดแข็งตัวช้า ในขณะที่เกิดบาดแผล บางรายเกิดเป็นมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
6. ระบบประสาท ปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า เกิดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ ทำให้ลูกตาแกว่ง ลิ้นแข็งพูดลำบาก สมองถูกทำลายจนเซลล์สมองฝ่อ เป็นโรคสมองเสื่อมก่อนวัยอันควร
7. ระบบกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อฝ่อลีบ จนถึงกับเป็นอัมพาตได้
8. ระบบสืบพันธุ์ ทำให้เด็กที่เกิดมาจากผู้ติดสารระเหย มีอาการไม่สมประกอบ
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
สารระเหยออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ มีอาการขาดยาแต่ไม่รุนแรง
โทษทางกฎหมาย :
สารระเหยจัดเป็นสารเสพติดตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533
กระท่อม (Kratom)
กระท่อม เป็นพืชเสพติดชนิดหนึ่ง ส่วนมากพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในประเทศอินเดียและในประเทศไทย ลักษณะเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีแก่นเป็นไม้เนื้อแข็ง ใช้ส่วนของใบในการเสพ ลักษณะใบคล้ายใบกระดังงา หรือใบฝรั่ง ต้นหนาทึบ ต้นกระท่อมมี 2 ชนิด คือ
1. ชนิดที่มีก้านและเส้นใบเป็นสีแดงเรื่อๆ
2. ต้นสีเขียว ใบสีเขียว ดอกกลมโตเท่าผลพุทราไทยล้มอรอบด้วยเกสรสีแดงเรื่อๆ คล้ายดอกกระถิน มีชื่อเรียกต่างๆ เช่น กระทุ่มโคก กระทุ่มพาย เป็นต้น
วิธีการเสพกระท่อม
1. เคี้ยวใบดิบ
2. ใช้ใบตากแห้งแล้วนำมาบดเป็นผงรับประทานแล้วดื่มน้ำตาม
3. ใช้ใบที่บดเป็นผงชงกับน้ำร้อนแบบชาจีน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ในใบกระท่อมมีสารไมตราจัยนิน ที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกาย แต่ไม่รุนแรง
อาการผู้เสพ :
ทำงานไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ทนแดด ไม่รู้สึกร้อน ทำให้ผิวหนังไหม้เกรียม มีอาการมึนงง ปากแห้ง นอนไม่หลับ ท้องผูก
โทษที่ได้รับ :
ร่างกายทรุดโทรม มีอาการประสาทหลอน จิตใจสับสน
โทษทางกฎหมาย :
กระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเค
ยาเค มาจากคำว่า เคตามีน (Ketamine) เคตาวา (Ketava) เคตารา (Ketara) หมายถึง ยาที่มีอันตรายสูง ที่แพทย์จะจ่ายให้กับผู้ป่วยเฉพาะเมื่อมีความจำเป็นจริงๆ เท่านั้น ยาเคถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ โดยใช้เป็นยาสลบมีชื่อเรียกในวงการแพทย์ว่า "KATAMINE HCL." มีลักษณะเป็นผงสีขาว และเป็นน้ำบรรจุอยู่ในขวดสีชา การนำไปใช้นั้นปกติแพทย์จะใช้ฉีดเข้าเส้นเลือดในอัตรา 1 ถึง 2 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยยาจะออกฤทธิ์ทำให้หมดสติภายในเวลา 1 นาที หรืออาจใช้วิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่วิธีนี้จะใช้ปริมาณยามากกว่าการฉีดเข้าเส้นเลือดประมาณ 3 เท่า อาการหมดสติจากการใช้ยาเคจะเป็นอยู่นานประมาณ 10-15 นาที เท่านั้น ด้วยเหตุนี้ยาเคจึงถูกนำมาใช้ในกรณีของการผ่าตัดที่ใช้ระยะเวลาสั้นๆ หรือใช้ทำให้ผู้ป่วยสลบ ก่อนที่จะผ่านไปสู่การใช้ยาสลบชนิดอื่น
สาเหตุที่ทำให้ยาเคกลายเป็นปัญหา เพราะวัยรุ่นบางกลุ่มได้นำยาเคมาใช้เป็นสิ่งมึนเมา โดยนำมาทำให้เป็นผงด้วยกรรมวิธีผ่านความร้อน จากนั้นจึงนำมาสูดดมเพื่อให้เกิดอาการมึนเมาและมักพบว่ามีการนำยาเคมาใช้ร่วมกับยาเสพติดร้ายแรงชนิดอื่น เช่น ยาอี และโคเคน
ยาเค เป็นยาที่ออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรงเมื่อเสพเข้าไปจะรู้สึกเคลิบเคลิ้ม (Euphoria) รู้สึกว่าตนเองมีอำนาจพิเศษ (Mystical) มีอาการสูญเสียกระบวนการทางความคิด ความคิดสับสน การรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภาพ แสง สี เสียง จะเปลี่ยนแปลงไป ตาลาย ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน หากใช้ปริมาณมากจะเกิดการติดขัดในการหายใจ (Respiratory depression) อาการที่ไม่พึงประสงค์เหล่านั้น (Bad Trip) จะปรากฏให้เห็นคล้ายกับอาการทางจิต ซึ่งหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะปรากฏอาการเช่นนี้อยู่บ่อยๆ เรียกว่า Flashbacks ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว จะทำให้ผู้เสพประสพกับสภาวะโรคจิตและกลายเป็นคนวิกลจริตได้
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ยาเคออกฤทธิ์หลอนประสาท
อาการผู้เสพ :
เคลิบเคลิ้ม มึนงง ความคิดสับสน ตาลาย หูแว่ว การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป การเคลื่อนไหวของร่างกายไม่สัมพันธ์กัน
โทษทางกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 106 พ.ศ. 2541 ออกตามความใน พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ. 2518 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 พ.ย. 2541 ฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุก 5-20 ปี ปรับตั้งแต่ 100,000-400,000 บาท
โทษที่ได้รับ :
การนำยาเคมาใช้ในทางที่ผิดย่อมก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ใช้ โดยทำให้เกิดผล ดังนี้
1. ผลต่ออารมณ์ มีความรู้สึกเคลิบเคลิ้ม มึนงง หรือที่เรียกว่าอาการ "Dissociation"
2. ผลต่อการรับรู้ จะเปลี่ยนแปลงการรับรู้จะเปลี่ยนแปลงการรับรู้ทั้งหมดในขณะเสพ ไม่ค่อยตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภาพ แสง สี เสียง
3. ผลต่อร่างกายและระบบประสาท เมื่อใช้ยาเคในปริมาณมากๆ ไม่เพียงแต่จะทำให้เกิดอาการติดขัดในการหายใจเท่านั้น ยังทำให้เกิดอาการทางจิตประสาทหลอน หูแว่วกลายเป็นคนวิกลจริตได้
กัญชา (Cannabis, Marihuana, Ganja)
กัญชา เป็นพืชล้มลุกจำพวกหญ้าขึ้นได้ง่ายในเขตร้อน ลำต้นสูงประมาณ 2-4 ฟุต ลักษณะใบจะแยกออกเป็นแฉกประมาณ 5-8 แฉก คล้ายใบมันสำปะหลัง ที่ขอบใบทุกใบจะมีรอยหยักอยู่เป็นระยะๆ ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ ตามง่ามของกิ่งและก้าน ส่วนที่คนนำมาเสพได้แก่ ส่วนของกิ่ง ก้าน ใบและยอดช่อดอกกัญชา โดยนำมาตากหรืออบแห้งแล้วบดหรือหั่นให้เป็นผงหยาบๆ จากนั้นจึงนำมายัดไส้บุหรี่สูบ (แตกต่างจากบุหรี่ทั่วไปที่ไส้บุหรี่จะมีสีเขียวต่างจากไส้ยาสูบที่มีสีน้ำตาล และขณะจุดสูบจะมีกลิ่นเหมือนหญ้าแห้งไหม้ไฟ) หรืออาจสูบด้วยกล้องหรือบ้องกัญชา บ้างก็ใช้เคี้ยว หรือผสมลงในอาหารรับประทาน ปัจจุบันรูปแบบของกัญชาที่พบนอกจากจะพบในลักษณะของกัญชาสด กัญชาแห้งอัดเป็นแท่งเป็นก้อนแล้วยังอาจพบในรูปของ "น้ำมันกัญชา" (Hashish Oil) ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวสีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ ได้จากการนำกัญชามาผ่านกระบวนการสกัดหลายๆ ครั้งจึงได้เป็นน้ำมันกัญชาที่มีปริมาณสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทสูงถึง 20-60% หรืออาจพบในลักษณะของ "ยางกัญชา" (Hashish) เป็นยางแห้งที่ได้จากใบและยอดช่อดอกกัญชา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีฤทธิ์แรงกว่ากัญชาสด และมีปริมาณสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประมาณ 4-8%
กัญชา เป็นยาเสพติดให้โทษที่ออกฤทธิ์หลายอย่างต่อระบบประสาทส่วนกลาง คือ ทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาท สารออกฤทธิ์ที่อยู่ในกัญชามีหลายชนิด แต่สารที่สำคัญที่สุดที่มีฤทธิ์ต่อสมองและทำให้ร่างกาย อารมณ์และจิตใจเปลี่ยนแปลงไป คือ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydro Cannabinol) หรือ THC ที่มีอยู่มากในส่วนของยอดช่อดอกกัญชา สาร THC นี้ ในเบื้องต้นจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ผู้เสพตื่นเต้น ช่างพูด และหัวเราะตลอดเวลา ต่อมาจะกดประสาททำให้ผู้เสพมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อนๆ เซื่องซึมและง่วงนอน หากเสพเข้าไปในปริมาณมากๆ จะหลอนประสาททำให้เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ได้
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์ผสมผสานทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาท มีอาการเสพติดทางจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
อาการผู้เสพ :
อารมณ์อ่อนไหวเปลี่ยนแปลงง่าย ความคิดเลื่อนลอยสับสน ควบคุมตัวเองไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความจำเสื่อม กล้ามเนื้อลีบ หัวใจเต้นเร็ว หูแว่ว
โทษที่ได้รับ :
หลายคนคิดว่า การเสพกัญชานั้นไม่มีโทษร้ายแรงมากนัก แต่จากการศึกษาวิจัย พบว่า กัญชาเป็นยาเสพติดอีกชนิดหนึ่ง ที่มีอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพมากเกินกว่าที่คาดคิด อาทิเช่น
1. ทำลายสมรรถภาพทางกาย ผู้เสพกัญชาในปริมาณมาก เป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม จนไม่สามารถประกอบกิจการงานใดๆ ได้ โดยเฉพาะงานที่ต้องใช้แรงงาน ความคิด และการตัดสินใจ รวมทั้งจะมีลักษณะ Amotivation Syndrome คือ การหมดแรงจูงใจของชีวิต จะไม่คิดทำอะไรเลย อยากอยู่เฉยๆ ไปวันๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการทำงานเป็นอย่างมาก
2. ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การเสพติดกัญชามีผลร้ายคล้ายกับการติดเชื้อเอดส์ (HIV) กล่าวคือ กัญชาจะทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานเสื่อมลงหรือบกพร่อง ร่างกายจะอ่อนแอและติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย
3. ทำลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพียงในระยะสั้น ทำให้ผู้เสพบางรายสูญเสียความทรงจำ เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้สมองและความจำเสื่อม เกิดความสับสน วิตกกังวล และหากผู้เสพเป็นผู้มีอาการของโรคจิตเภท หรือป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการรุนแรงมากกว่าคนปกติทั่วไป
4. ทำให้เกิดมะเร็งปอด เนื่องจากผู้เสพจะอัดควันกัญชาเข้าไปในปอดลึกนานหลายวินาที การสูบบุหรี่ยัดไส้กัญชาเพียง 4 มวน ซึ่งเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง หรือ 20 มวน นั้นสามารถทำลายการทำงานของระบบทางเดินหายใจทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่ธรรมดาถึง 5 เท่า และในกัญชายังมีสารเคมีที่เป็นอันตรายสามารถให้เกิดโรคมะเร็งได้
5. ทำร้ายทารกในครรภ์ กัญชาจะทำลายโครโมโซม ฉะนั้นหญิงที่เสพกัญชาในระยะตั้งครรภ์ ทารกที่เกิดมาจะพิการมีความผิดปกติทางร่างกาย เช่น ความผิดปกติของเซลล์ประสาทในสมอง ความผิดปกติของฮอร์โมนเพศและพันธุกรรม
6. ทำลายความรู้สึกทางเพศ กัญชาจะทำให้ระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในชายลดลง ทำให้ปริมาณอสุจิน้อยลง ทั้งยังพบว่า ผู้เสพติดกัญชามักกลายเป็นคนขาดสมรรถภาพทางเพศ
7. ทำลายสุขภาพจิต ฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้ผู้เสพมีอาการเลื่อนลอย ฝันเฟื่อง ความคิดสับสนและมีอาการประสาทหลอนจนควบคุมตนเองไม่ได้ ซึ่งถ้าเสพเป็นระยะเวลานานจะทำให้มีอาการจิตเสื่อม
นอกจากผลร้ายที่มีต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพแล้ว การขับรถขณะเมากัญชายังก่อให้เกิดอันตรายได้มาก เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทำให้เสียสมาธิ ทำให้การตัดสินใจผิดพลาด การตอบสนองช้าลง การรับรู้ทางสายตาบิดเบือน ความสามารถในการมองเห็นส่งเคลื่อนที่ด้อยลง จึงเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อผู้ขับรถยนต์หรือแม้แต่เดินบนท้องถนนก็ตาม
โทษตามกฎหมาย :
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
แอลกอฮอล์ (Alcohol)
แอลกอฮอล์ เป็นของเหลวไม่มีสี แอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มมึนเมา คือ เอธิลแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มมึนเมาชนิดต่างๆ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้ บรั่นดี จะมีปริมาณของเอธิลแอลกอฮอล์แตกต่างกัน
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
ออกฤทธิ์กดประสาท มีการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
อาการผู้เสพ :
ถ้าดื่มมากๆ จะกัดกระเพาะอาหารเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหาร ความรู้สึกนึกคิดผิดไป ควบคุมตนเองไม่ได้ ไม่สามารถยับยั้งตนเองจึงอาจแสดงอาการบางอย่างออกมา เช่น ดุร้าย ทะเลาะวิวาท พูดมาก นอกจากนี้ยังมีอาการหน้าแดง ตัวแดง ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นแรง ปัสสาวะบ่อย ถ้าดื่มมากขึ้นอีกจะทำให้การรับรส กลิ่น เสียง และสัมผัสลดลง คนที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือคนที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง จะมีใบหน้าบวมฉุ หน้าแดง ตาแดง ผิวหนังคล้ำ มือสั่น ลมหายใจมีกลิ่นแอลกอฮอล์
โทษที่ได้รับ :
ถ้าดื่มเป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้เกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง ทำลายตับและสมอง สติปัญญาเสื่อม ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตใจผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว ปลายมือปลายเท้าชา กระเพาะอาหารอักเสบ เบื่ออาหาร ร่างกายซูบผอม และอาจเกิดโรคตับแข็งถ้าเสพติดมาก และไม่ได้เสพจะมีอาการกระวนกระวาย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เหงื่อออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว อารมณ์ฉุนเฉียว อาจมีอาการชักประสาทหลอน เป็นโรคจิต และถ้าดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับยาที่กดประสาท เช่น ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท จะเสริมฤทธิ์กันทำให้มีอันตรายมากขึ้นได้
อ๊อพตาลิดอน-พี
อ๊อพตาลิดอน-พี มีประโยชน์ต่อวงการแพทย์อย่างไร
อ๊อพตาลิดอน-พี หรืออ๊อพ หรือยาอ๊อพ เป็นชื่อทางการค้าของยาแก้ปวดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทยาควบคุมพิเศษ ช่วยบรรเทาอาการปวดหัวและครั่นเนื้อครั่นตัว หรือความรู้สึกไม่สบายที่เกิดจากไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ฯลฯ ปวดฟัน ปวดประจำเดือน อาการปวดจากการผ่าตัดเล็ก ฯลฯ
อ๊อพตาลิดอน-พี มีผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร
ส่วนประกอบของตัวยาสำคัญที่พบใน อ๊อพตาลิดอน-พี คือ โปรปิพี-นาโซน (ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตน และคาเฟอีน) มีคุณสมบัติที่ก่อให้เกิดการเสพติด ผู้ที่ใช้ยานี้บ่อยๆ หรือใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดการเสพติดได้
ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตนและคาเฟอีนมีฤทธิ์ต่อร่างกายอย่างไร
ไอโซบิวทิลแอนลิวบาบิโตนอาจเรียกสั้นๆ ว่า บิวตาลปิตาล ยาชนิดนี้จัดเป็นยาในกลุ่มบาบิทูเรท ซึ่งเป็นกลุ่มยาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี บิวตาลปิตาลมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ในขนาดน้อยใช้เพื่อระงับประสาทได้ แต่ในขนาดสูงสามารถใช้เป็นยานอนหลับ และการใช้ยาเกินขนาด (ส่วนใหญ่มากกว่า 10 เท่า ของขนาดที่ทำให้หลับ) ผู้ใช้อาจเสียชีวิตได้ นอกจากนี้การใช้ยาชนิดนี้ร่วมกับยาหรือสารอื่นที่มีฤทธิ์กดประสาท เช่น ยานอนหลับ แอลกอฮอล์ ฯลฯ ก็อาจทำให้ผู้ใช้ถึงแก่ชีวิตได้ ผลจากการติดตัวยาชนิดนี้จะก่อให้เกิดโทษได้หลายอย่าง โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท เช่น มีอาการมึนงง ใจคอหงุดหงิด ความรู้สึกเลื่อนลอยหรือสับสน มีอาการทางจิตฟุ้งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สำหรับผลต่อระบบส่วนอื่นๆ ของร่างกาย โรคหรืออาการที่อาจพบได้ เช่น ความดันโลหิตต่ำ ท้องผูก ฯลฯ กรณีผู้ที่ติดยานี้ (รวมถึงผู้ที่ติดอ๊อพตาลิดอน-พี) หรือยาชนิดอื่นในกลุ่มบาบิทูเรท เมื่อต้องการเลิกไม่ควรเลิกทันที แต่ควรค่อยๆ ลดขนาดยาลงเพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดอาการชักที่จะทำให้ถึงแก่ชีวิตได้
สำหรับ คาเฟอีน ซึ่งเป็นอีกชนิดหนึ่งที่เป็นส่วนผสมในอ๊อพตาลิดอน-พี นั้น เป็นสารธรรมชาติที่พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ต้นกาแฟ ชา โกโก้ ฯลฯ ยานี้จะไม่ใช้เดี่ยวๆ แต่มักผสมร่วมกับยาแก้ปวดบางชนิดที่มักผสมร่วมกับยาแก้ปวดบางชนิดที่มักพบว่านิยมผสมร่วมด้วย คือ แอสไพริน เพระเชื่อกันว่าคาเฟอีนช่วยเพิ่มการแสดงฤทธิ์ของยาแก้ปวดชนิดนี้ได้ คาเฟอีนมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง จึงทำให้ผู้ใช้รู้สึกกระปรี้กระเปร่าไม่ง่วง ทั้งยังมีส่วนทำให้หัวใจเต้นแรงขึ้น ฯลฯ หากให้ยาเกินขนาดผู้ใช้จะเกิดอาการวิตกกังวล เครียดและใจสั่น เมื่อเทียบกับยากระตุ้นประสาทอื่นๆ การติดคาเฟอีนจะต้องใช้ขนาดสูงกว่าและช่วงระยะเวลานานกว่า รวมทั้งการติดมีความรุนแรงน้อยกว่า อย่างไรก็ดี การติดคาเฟอีนก่อให้เกิดผลเสียหลายอย่างเช่นกัน โดยเฉพาะผู้ติดที่เป็นผู้สูงอายุ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นจะคล้ายคลึงกับอาการที่พบในผู้ที่ใช้คาเฟอีนเกินขนาดดังกล่าวข้างต้น รวมทั้งผู้ใช้จะมีอาการนอนไม่หลับ ความคิดสับสนปวดหัวบ่อยๆ หัวใจเต้นแรงและอาจพบเป็นโรคอุจจาระร่วงประจำ
สาเหตุของการติดยาเสพติด
ภายหลังจากที่มีการประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 37 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2501 ซึ่งมีผลบังคับเมื่อ 1 กรกฎาคม 2502 ห้ามประชาชนทั่วประเทศสูบฝิ่นเพียงชนิดเดียว และก่อนที่ประกาศคณะปฏิวัติจะมีผลบังคับ ได้อนุญาตให้ผู้เสพติดฝิ่นมาขอจดทะเบียนเพื่อผ่อนผันให้เสพต่อไปได้อีก 6 เดือน ปรากฏว่ามีผู้มาลงทะเบียนแสดงการติดฝิ่นทั่วประเทศ 70,985 คน แต่ก็คงมีผู้แอบเสพโดยไม่มาลงทะเบียน ซึ่งคงมีจำนวนอีกไม่มาก เมื่อเหตุการณ์ล่วงเลยมาจนถึงปัจจุบัน ยาเสพติดนับได้ว่าเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างร้ายแรง ทั้งจำนวนผู้ติดยาเสพติดก็มากขึ้นนับกว่าล้านคน ซึ่งยาเสพติดที่เป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ก็กลับมีเพิ่มขึ้นอีกหลายชนิด มิได้มีแต่ฝิ่นอย่างเดียวเหมือนเช่นสมัยก่อน จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าว่าเพราะสาเหตุใดที่ทำให้ผู้คนโดยเฉพาะเยาวชนไปเสพยาเสพติด ทั้งๆ ที่สมัยที่มีการเสพติดฝิ่นเพียงอย่างเดียว ปรากฏชัดว่าผู้ติดฝิ่นมีอายุต่ำที่สุด 40 ปี แต่ปัจจุบันผู้ติดยาเสพติดหรือสิ่งเสพติดกลับมีอายุที่ลดลงอย่างน่าวิตก คือต่ำที่สุด 7 ปี และสูงสุดกลายเป็น 40 ปี และช่วงที่มีปัญหาที่น่าห่วงใยเพราะทรัพยากรอันมีค่าของประเทศกำลังอยู่ในอันตราย จำเป็นที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันชี้แนวทางในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด
สาเหตุที่ทำให้เยาวชน ตลอดจนผู้คนวัยอื่นๆ หันไปเสพยาเสพติดที่หลายประการที่สำคัญ ดังนี้
1. สาเหตุจากการถูกชักชวน เยาวชนส่วนใหญ่มีสัญชาตญาณต้องการอยู่ร่วมกัน ต้องการได้รับการยกย่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของหมู่คณะ ฉะนั้นถ้าเพื่อนฝูงชักชวนให้ลองย่อมขัดไม่ได้ มิฉะนั้นจะกลายเป็นเข้ากับเพื่อนไม่ได้ จึงทำให้เยาวชนต้องยอมใช้ยาเสพติดตามการชักชวนของเพื่อน ซึ่งมีหลักฐานสนับสนุนที่แน่ชัด โดยผลจากการศึกษาวิจัยของทางราชการ พบว่า เยาวชนติดยาเสพติดเพราะถูกเพื่อนชักจูงมีถึง 77% ประกอบกับเยาวชนวัยรุ่นเป็นวัยที่อยากรู้อย่าลองจึงง่ายต่อการชักชวนมากขึ้น
2. สาเหตุจากอยากลอง ความอยากรู้อยากเห็น อยากลอง อยากรู้รสชาติ อยาสัมผัส เป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ โดยคิดว่าคงไม่ติดง่ายๆ แต่เมื่อลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน ติดง่ายมาก เพียงเสพไม่กี่ครั้งก็ติดแล้ว
3. สาเหตุจากความกดดันในครอบครัว มีส่วนผลักดันให้สมาชิกในครอบครัวหันไปใช้ยาเสพติดได้ ซึ่งความกดดันในครอบครัวมีแตกต่างกันไป เช่น
พ่อแม่ทะเลาะกันทุกวัน ลูกเกิดความรำคาญใจที่เห็นสภาพเช่นนั้น ทำให้เบื่อบ้าน จึงทำให้ใช้เวลาว่างที่มีไปคบเพื่อนนอกบ้านจนกว่าจะถึงเวลานอนจึงกลับบ้านและในที่สุดก็หันไปสู่ยาเสพติด
พ่อแม่หย่าร้าง ต่างคนต่างมีภรรยาหรือสามีใหม่ ทำให้ขาดความสนใจในลูกเท่าที่ควร เด็กในวัยรุ่นส่วนใหญ่มีความกดดันสูง ประกอบกับความน้อยใจว่าพ่อแม่ไม่รัก รู้สึกว้าเหว่ จึงได้หันไปใช้ยาเสพติด
พ่อแม่ที่ไม่เข้าใจลูก เยาวชนที่หันไปใช้ยาเสพติดมิใช่ว่ามีเฉพาะเยาวชนที่ยากจน หรืออยู่ในสถานกำพร้า ฯลฯ เยาวชนที่มีพ่อแม่ร่ำรวยก็มีโอกาสติดยาเสพติดได้ เพราะความที่พ่อแม่ไม่เข้าใจลูก คิดว่าหากต้องการอะไรพ่อแม่ก็หาให้ได้โดยใช้เงิน แต่ความจริงเด็กหรือเยาวชนก็มีจิตใจอยากร่วมกันรับรู้ในกิจกรรมของครอบครัว ต้องการให้พ่อแม่ยกย่องเมื่อทำกิจกรรมดี เช่น สอบไล่ได้ที่ดีๆ หรือได้รับคำชมเชยเมื่อช่วยเหลือผู้อื่น ย่อมต้องอยากเล่าให้พ่อแม่ฟังในเรื่องราวต่างๆ แต่ปรากฏว่าเมื่อกลับมาถึงบ้านพ่อแม่มีภารกิจมาก ไม่มีเวลาให้ลูก หรือทำความดีก็ไม่เคยรู้ เมื่อเป็นเช่นนี้บ่อยๆ เด็กก็เสียใจ ในที่สุดก็กลายเป็นคนเงียบขรึม ว้าเหว่ และหันไปใช้ยาเสพติดได้
พ่อแม่ที่แสดงออกในการรักลูกไม่เท่ากัน การเอาใจใส่ที่แสดงออกต่อลูกทุกคนควรเหมือนกันและพ่อแม่ที่ลูกหลายคนไม่ควรตั้งความหวังสูงนัก อยากให้ลูกเรียนเก่ง สอบได้ที่ 1 ทุกคนต้องการเช่นนี้ แต่ควรยอมรับสภาพความเป็นจริงว่าการเรียนเก่งนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ประการ เช่น สติปัญญา ความเอาใจใส่ของเด็กเอง ฉะนั้น เมื่อมีลูก 2-3 คน อาจจะบางคนเรียนเก่ง ลูกคนที่เรียนไม่เก่งก็ไม่ควรได้รับการตำหนิจากพ่อแม่ เพราะสติปัญญาคนเราไม่เท่ากัน มีพ่อแม่บางคนพยายามชมเชยยกย่อง ลูกคนเรียนเก่งให้ลูกที่เรียนไม่เก่งฟังเสมอๆ
4. สาเหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นโรคประสาท เป็นหืด ได้รับความทรมาณทางกายมาก ผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติดจนติดยาในที่สุด
5. สาเหตุจากความคะนอง บุคคลประเภทนี้มีความอยากลอง ซึ่งรู้แน่แก่ใจว่ายาเสพติดให้โทษไม่ดี แต่ด้วยความคะนองเพราะเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดงความเก่งกล้าอวดเพื่อน ขาดความยั้งคิด จึงชักชวนกันเสพจนติดในที่สุด
6. สาเหตุจากความจำเป็นในอาชีพบางอย่าง เช่น ผู้ทำงานกลางคืน นักดนตรี คนขับรถเมล์ คนขับรถบรรทุก ผู้ทำงานในสถานประกอบการ ผู้มีอาชีพเหล่านี้ใช้ยาเสพติด โดยหวังผลให้สามารถประกอบการงานได้ เช่น บางคนใช้เพราะฤทธิ์ยาช่วยไม่ให้ง่วง บางคนใช้เพื่อย้อมใจให้เกิดความกล้า
7. สาเหตุจากปัญหาเศรษฐกิจ คือ การไม่มีงานทำ หรือมีรายได้ไม่พอรายจ่าย รวมทั้งใช้จ่ายเงินเกินตัว แม้จะทราบว่ายาเสพติดผิดกฎหมาย แต่เพื่อความอยู่รอดของตนเองจึงยอมไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด โดยขั้นแรกอาจเป็นเพียงคนช่วยส่งยาเสพติดแต่การอยู่ใกล้ชิดยาบ่อยๆ ในที่สุดเป็นผู้ส่งยาและติดยา บางคนแม้จะมีพอกินพอใช้ คิดอยากรวยทางลัดก็เป็นทางให้ไปสู่ยาเสพติดได้
8. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม มีผู้ติดยาเสพติดจำนวนไม่น้อย มีความตั้งใจที่จะพยายามเลิกเสพ โดยเข้ารับการบำบัดรักษาจากทั้งภาครัฐและเอกชน แต่เมื่อหายแล้วปรากฏว่าสังคมไม่ยอมรับ เช่น ในครอบครัวตนเองยังแสดงท่าทีดูถูกเหยียดหยามรังเกียจ หรือไปสมัครเข้าทำงานก็ถูกปฏิเสธ เนื่องจากมีประวัติเคยติดยาเสพติด คนเหล่านี้จำเป็นต้องมีชีวิตอยู่รอด ดังนั้น เมื่อสังคมไม่ยอมรับจึงหันกลับไปอยู่ในสังคมยาเสพติดเช่นเดิม
9. สาเหตุจากอยู่ในแหล่งที่มียาเสพติด สถานที่อยู่อาศัย ที่อยู่ใกล้แหล่งที่มีการมั่วสุมยาเสพติดและค้ายาเสพติดก็อาจเป็นสาเหตุให้ถูกชักจูงหรือล่อลวงให้ติดยาเสพติดได้ง่าย
10. ขาดความรู้ในเรื่องยาและยาเสพติด คนบางคนทดลองใช้ยาเสพติดเพราะไม่รู้จักและไม่มีความรู้เรื่องยาเสพติด บางคนอาจเคยได้ยินโทษพิษภัยของยาเสพติด แต่ไม่รู้จักชื่อต่างๆ ที่ใช้เรียกอาจถูกหลอกให้ทดลองใช้และเกิดเสพติดขึ้นได้ เช่น คนส่วนใหญ่รู้ว่าเฮโรอีนเป็นยาเสพติดและไม่คิดจะลอง แต่หลายคนอาจไม่รู้ว่าผงขาวคือเฮโรอีน เมื่อเพื่อนมาชักชวนว่าให้ลองเสพผงขาวแล้วจะเที่ยวผู้หญิงสนุก จึงได้ลองเสพโดยไม่ทราบว่ามันจะเป็นเฮโรอีน นอกจากนี้ถ้าคนเรามีความรู้เรื่องการใช้ยาบ้างก็จะไม่ใช้ยาที่ไม่มีฉลาก
สาเหตุใหญ่ๆ ที่กล่าวมาแล้ว คนที่จิตใจอ่อนแอ อ่อนไหวง่ายก็ติดยาง่าย ดังตัวอย่างข้างต้น สาเหตุที่ทำให้บุคคลหนึ่งไปติดยาเสพติด อาจมิใช่จากสาเหตุเดียว แต่อาจเกิดได้จากสาเหตุหลายๆ ประการก็ได้
วิธีสังเกตผู้ติดยาเสพติดหรือสารเสพติด
ผู้ที่ติดยาเสพติดย่อมรู้ตัวเองดีว่าติดอะไรและสิ่งนั้นผิดกฎหมายหรือไม่ เช่น ติดเหล้าหรือบุหรี่ซึ่งไม่ผิดกฎหมาย บุคคล ผู้เสพติดก็จะไม่กังวลใจมาก บางรายกลับเห็นเป็นของโก้ แต่ถ้าติดสิ่งเสพติดที่ผิดกฎหมายผู้เสพติดจะเกิดความเครียด เพราะต้องปิดบังในการเสพ ฉะนั้นผู้เสพติดจะมีสีหน้าที่แสดงถึงความไม่สบายใจคล้ายๆ ทำผิดแล้วกลัวถูกจับได้ การสังเกตจึงสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกได้ดังนี้
1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย โดยสังเกตได้จากสิ่งต่อไปนี้
สุขภาพทั่วไปทรุดโทรม เพราะฤทธิ์ของยาอาจทำให้ไม่หิวหรือเบื่ออาหาร ร่างกายจะผอมซีด หมองคล้ำ น้ำหนักลด ไม่มีเรี่ยวแรงที่จะทำงานหนัก ริมฝีปากเขียวคล้ำ แตกและแห้ง (พวกที่เสพโดยการสูบ) มักใส่แว่นตาสีดำหรือสีเข้มเพื่อต่อสู้กันแสงสว่าง เพราม่านตาขยาย น้ำมูกน้ำตาไหล เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง เพราะไม่ทำความสะอาดร่างกายตัวเองทุกวัน นิ้วมือมีคราบเหลืองๆ สกปรก
มีร่องรอยการเสพยาเสพติดให้เห็นที่บริเวณแขนตามแนวเส้นโลหิตดำ มักใส่เนื้อแขนยาวเพื่อปกปิดร่องรอยการฉีดยาเสพติด (เสพโดยฉีดเข้าเส้น) ผงขาว เฮโรอีน หรือบริเวณตะโพกและหัวไหล่ มีรอยแผลเป็นช้ำๆ (เสพโดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ)
มีรอยแผลเป็นที่ท้องแขน เป็นรอยกรีดด้วยของมีคมตามขวางเฉียงๆ (ทำร้ายตนเอง ติดเหล้าแห้ง ยากล่อมประสาท ยาระงับประสาท)
นิ้วมือมีรอยคราบเหลืองสกปรก (เสพโดยการสูบเฮโรอีนเกล็ด)
บุคคลที่ติดยาเสพติดจะมีโรคแทรกต่างๆ เกิดขึ้น เช่น โรคทางเดินอาหาร ปวดท้อง ตับแข็ง โรคทางเดินหายใจ (อาทิ ปอดบวม วัณโรค) โรคผิวหนัง จะมีผิวหนังหยาบกร้านเป็นแผลพุพอง อาจมีหนอง น้ำเหลืองคล้ายโรคผิวหนัง (เสพโดยการฉีดผงขาวเข้าเส้น)
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและพฤติกรรม
ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ เช่น คนทำงานก็ขาดงาน นักเรียนก็ขาดเรียน
สติปัญญาเสื่อม การเรียนด้อยลง ความจำเสื่อม การงานบกพร่อง
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง จิตใจอ่อนแอ
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ปล่อยเนื้อปล่อยตัว พูดจาไม่สัมพันธ์กับสภาพความเป็นจริง
อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียว ไม่มีเหตุผล พูดจากร้าวร้าวแม้แต่กับบิดามารดา ชอบอยู่สันโดษ หลบหน้าเพื่อนฝูง ทำตัวลึกลับ
มั่วสุมกับคนที่มีพฤติการณ์เกี่ยวกับยาเสพติด
สูบบุหรี่จัดขึ้น
มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น ตัวยา อุปกรณ์การฉีดหรือการสูดดมในตัว
มีธุระส่วนตัวนอกบ้านเสมอๆ กลับบ้านผิดเวลาเป็นประจำ
ไม่ชอบทำงานทำการอะไร นอกจากง่วงเหงาหาวนอน ชอบนอนทั้งวัน ตื่นสายผิดปกติ
ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อย สกปรก ไม่รับประทานอาหารตามปกติผิดจากแต่ก่อน
สีหน้าแสดงความวิตกกังวลซึมเศร้า
ใช้เงินเปลืองผิดปกติ
สิ่งของในบ้านหายบ่อย
3. แสดงอาการอยากยาเสพติด เป็นที่ทราบแล้วว่ายาเสพติดทุกชนิดเมื่อเสพแล้ว ก็ออกฤทธิ์ชั่วระยะเวลาหนึ่ง พอหมดฤทธิ์ก็ทำให้ผู้ติดยาอยากเสพอีก ถ้าไม่ได้ยามาเสพจะแสดงอาการอยากยาขึ้น ก็ให้สังเกตอาการอยากยาที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของตัวยา เช่น
จาม น้ำมูก น้ำตาไหลคล้ายคนเป็นหวัด
คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
ท้องเดิน บางคนอยากมากถึงอุจจาระเป็นเลือด เรียกว่าลงแดง
ตัวสั่นกระตุก อาจถึงชัก
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อย่างรุนแรง
นอนไม่หลับ ทุรนทุราย ม่านตาขยาย
4. อาศัยเทคนิคทางการแพทย์ เมื่อลองใช้วิธีสังเกตทั้ง 3 วิธีแล้วยังไม่มั่นใจก็ใช้เทคนิคทางการแพทย์เป็นเครื่องมือช่วยการสังเกตได้ ดังนี้
4.1 เก็บปัสสาวะบุคคลที่สงสัยว่าติดยาเสพติดส่งตรวจ โดยวิธีหาสารที่ถูกขับถ่ายออกทางปัสสาวะ ซึ่งอาศัยเทคนิคเฉพาะในการตรวจก็สามารถบอกได้ว่าสารที่ออกมาในปัสสาวะเป็นสารเสพติดชนิดใด
4.2 ให้ยาบางชนิดที่ล้างฤทธิ์ยาเสพติด (Antidote) ให้แก่บุคคลที่สงสัยว่าติดยาเสพติด เช่น ให้นาลอร์ฟีน (Nalorphine) แก่บุคคลที่ติดเฮโรอีนกินซึ่งบุคคลนั้นจะแสดงอาการอยากยา ตามข้อ 3 ทันที ทั้งนี้เพราะนาลอร์ฟีนสามารถทำลายฤทธิ์เฮโรอีน
ผลกระทบของการติดยาเสพติดหรือสารเสพติด
1. ต่อผู้เสพเอง ผู้ใดติดยาเสพติด ผู้นั้นก็จะได้รับพิษภัยของยาเสพติด ซึ่งจะทำลายผู้ติดยาทั้งทางร่างกายและจิตใจ ดังนี้
ทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีโรคแทรกต่างๆ เกิดขึ้น เช่น ตับแข็ง วัณโรค โรคผิวหนัง
เสียเศรษฐกิจของตน โดยต้องเสียเงินเพื่อซื้อหายาเสพติดมาเสพให้ได้
เป็นบุคคลไร้สมรรถภาพทั้งร่างกายและจิตใจ เฉื่อยชาเกียจคร้าน บางคนทำงานไม่ได้
บุคลิกภาพไม่ดี มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดีและอาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย
มีโทษตามกฎหมาย
2. ต่อครอบครัว
ความรับผิดชอบต่อครอบครัวหรือญาติพี่น้องหมดไป ครอบครัวหมดความสุข และเป็นภาระต่อบุคคลในครอบครัว รวมทั้งทิ้งภาระหนักให้ครอบครัวหากต้องพิการหรือเสียชีวิต
ทำความเดือดร้อนให้ครอบครัว และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของครอบครัว
3. ต่อสังคมหรือชุมชน
เป็นที่รังเกียจของสังคมหรือชุมชน ไม่มีใครอยากคบด้วย เข้าสังคมไม่ได้
เป็นอาชญากร เพราะผู้ติดยาต้องพยายามทุกวิถีทางที่จะให้ได้ยาเสพติด ซึ่งช่วงแรกๆ อาจขอยืมเพื่อนแต่ต่อมาเพื่อนไม่ให้ยืม เพราะยืมแล้วไม่ใช้ ในที่สุดก็ต้องลักขโมยของในบ้านไปขาย เพื่อหาเงินมาซื้อ และนานๆ เข้าก็ต้องลักขโมยของผู้อื่นไปขายหรือวิ่งราวชาวบ้าน ในที่สุดอาจถึงขั้นจี้ชิงทรัพย์ ซึ่งพบข่าวอาชญากรรมในหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยๆ
4. ต่อประเทศชาติ
4.1 ทำลายเศรษฐกิจของชาติ เพราะผู้ติดยาเสพติดคนหนึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 50 บาทต่อวัน ถ้า 5 แสนคนจะประมาณ 25 ล้านบาทต่อวัน หรือ 750 ล้านบาทต่อ 1 เดือน หรือ 9 พันล้านบาทต่อปี ซึ่งเงินจำนวนนี้สามารถนำไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ได้อย่างมากมาย แต่กลับต้องมาสูญเสียในกิจการเช่นนี้ไปอย่างน่าเสียดาย
4.2 บ่อนทำลายความมั่นคงของประเทศ ผู้ติดยาเสพติดจะมีสุขภาพทรุดโทรมทั้งร่างกายและจิตใจตามฤทธิ์ของยาและมีความคิดคำนึงเพียงต้องมียาเสพติดให้ได้เมื่อเวลาอยาก ฉะนั้น ถ้าประเทศใดมีเยาวชนซึ่งจะเป็นพลังของชาติในอนาคตติดยาเสพติดมาก ก็เป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของประเทศมาก ซึ่งต้องระมัดระวังผู้ที่ไม่หวังดีต่อชาติ จะใช้ยาเสพติดเป็นเครื่องมือ เพื่อทำลายความมั่นคงของประเทศ
การใช้ยาในทางที่ผิด
ปัจจัยสำคัญ
/ สิ่งบริโภค
/ หลักปฏิบัติของผู้ใช้ยา
/ ใช้ยาอย่างไรจึงจะปลอดภัย
"ยา" ทุกชนิดมีทั้งคุณและโทษ ถ้าใช้อย่างถูกต้องจะทำให้เกิดประโยชน์อย่างมาก สำหรับโทษที่เกิดจากยามีตั้งแต่โทษเพียงเล็กน้อยจนถึงรุนแรงมาก และถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้น จึงต้องระมัดระวังการใช้เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่จะเกิดจากการใช้ยา
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การใช้ยาเกิดโทษ
1. ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
การใช้ยา ถ้าใช้เป็นระยะเวลานานๆ มักก่อผลเสียมากกว่าผลดี สำหรับผู้ป่วยบางคนอาจจำเป็นต้องใช้ยาบางอย่างติดต่อกันนานๆ ในกรณีเช่นนี้ จำเป็นต้องหมั่นสังเกตความผิดปกติของตนเองที่เกิดจากการใช้ยา ผลเสียที่อาจเกิดจากการใช้ยาติดต่อกันนานๆ ได้แก่
1.1 เกิดพิษที่มีสาเหตุจากฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่สะสม เช่น กระเพาะเป็นแผลทะลุ กระดูกผุ ตาบอด เป็นต้น
1.2 เกิดการดื้อยา เพราะร่างกายเกิดความเคยชินต่อยา จึงทำให้ต้องเพิ่มขนาดการใช้ เพื่อให้ได้ผลในการรักษาเหมือนเดิม
1.3 เกิดการติดยา ทั้งนี้เพราะยาบางชนิด มีคุณสมบัติทำให้เสพติดเมื่อใช้นานๆ จึงเกิดการติดขึ้นได้
1.4 เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ เสียเงินโดยใช่เหตุ เพราะต้องจ่ายเงินซื้อยาที่อาจไม่มีความจำเป็นต่อการรักษา โดยเฉพาะเมื่อเกิดการติดยานั้นๆ
2. การประกอบอาชีพ
การประกอบอาชีพบางประเภท อาจทำให้ผู้ประกอบอาชีพนั้นๆ ใช้ยาบางชนิดมากกว่าธรรมดาซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโทษ เป็นอันตรายจากการใช้ยานั้นเพิ่มขึ้น หรือขณะประกอบอาชีพ ถ้าผู้ใช้ไม่ระมัดระวังการใช้ยาบางชนิดก็จะก่อให้เกิดอันตรายได้ง่ายเช่นกัน เช่น ยาบางชนิดมีผลทำให้ง่วง ถ้าใช้ขณะทำงานที่มีความเสี่ยงอยู่แล้ว จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงมากขึ้น เพราะง่วงนอนจากฤทธิ์ยาที่อาจควบคุมได้ยาก หรือผู้ประกอบอาชีพบางคนอยากทำงานเพิ่มมากขึ้นก็ไปใช้ยากระตุ้น ผลที่สุดเกิดการติดยาเหล่านี้ขึ้น เป็นต้น
3. ความเครียดและความวิตกกังวล
ความเครียดและความวิตกกังวล รวมทั้งการนอนไม่หลับ จะเกิดขึ้นได้กับทุกคน ผู้ที่ไม่สามารถคลายความวิตกกังวลโดยวิธีการอื่นๆ เช่น การออกกำลัง การเล่นดนตรี การระบายให้ผู้อื่นรับรู้เพื่อจะได้สบายใจขึ้น ฯลฯ มักนิยมใช้ยาลดความเครียดและวิตกกังวล ซึ่งยาประเภทนี้เป็นพวกกดประสาทและทำให้เสพติดได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ หรือถ้าหากนำมาใช้ในปริมาณมากๆ อาจทำให้เสียชีวิตได้
4. หลงเชื่อคำโฆษณาและคำชักจูง
เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ควรศึกษาวิธีการที่จะรักษาตนเองอย่างง่ายๆ เช่น การใช้ยาสามัญประจำบ้านมารักษา หรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยบางประเภท ซึ่งควรฝึกวิธีการใช้ยาเหล่านี้อย่างถูกวิธี อย่างไรก็ดีถ้าอาการเจ็บป่วยมากควรไปพบแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง ไม่ควรหลงเชื่อคำโฆษณาเพราะการโฆษณามักเสนอเฉพาะด้านดีของสินค้า อีกประการหนึ่ง "ยา" ไม่ใช่สิ่งที่ควรทดลองอาการเจ็บป่วยของคนเรา แม้อาการจะคล้ายคลึงกันแต่สาเหตุอาจแตกต่างกันได้ เคยพบเสมอว่าผู้ใช้ยาตามคำโฆษณาหรือการชักชวน และการบอกเล่าของผู้ใกล้ชิดทำให้เกิดอาการป่วยมากขึ้น หรือถึงแก่ชีวิตในที่สุด เพราะใช้ยาไม่ถูกกับโรคที่เป็นหรือใช้ผิดวิธี ดังนั้น ถ้าไม่แน่ใจว่าอาการเจ็บป่วยมากหรือน้อย ควรพบแพทย์ หรือปรึกษาการซื้อยาจากเภสัชกรในร้านขายยา
อัตราโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ 2522 / พ.ร.ก.ป้องกันการใช้สารระเหย 2533 / พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามฯ 2534
ข้อหา : ผลิต / นำเข้า / ส่งออก
ประเภท 1 => จำคุกตลอดชีวิต (มาตรา 65 วรรค 1)
=> ถ้ากระทำเพื่อจำหน่าย ประหารชีวิต (มาตรา 65 วรรค 2)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 20 กรัมขึ้นไป ถือว่ากระทำเพื่อจำหน่าย ประหารชีวิต (มาตรา 15, 65)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 68 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน จำคุก 20 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 68 วรรค 2)
ประเภท 3 => จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 70, 20)
=> จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 72, 22)
=> จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 71, 20)
ประเภท 4 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 73)
ประเภท 5 => จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 75)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 75 วรรค 2)
ข้อหา : จำหน่าย / ครอบครองเพื่อจำหน่าย
ประเภท 1 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 5 ปีถึงตลอดชีวิต และปรับ 50,000 บาทถึง 500,000 บาท (มาตรา 66 วรรค 1)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์เกิน 100 กรัม จำคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต (มาตรา 66 วรรค 2)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 2)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 3 ปี ถึง 20 ปี และปรับ 30,000 บาท ถึง 200,000 บาท คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์เกินกว่า 100 กรัม จำคุก 5 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 50,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 3, 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 2)
ประเภท 5 => จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 76 วรรค 2)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 76 วรรค 4)
ข้อหา : ครอบครอง
ประเภท 1 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่ถึง 20 กรัม จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 67)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 20 กรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย (มาตรา 15 วรรค 2, มาตรา 66)
ประเภท 2 => คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่เกิน 100 กรัม จำคุก 3 ปี ถึง 20 ปี และปรับ 30,000 บาท ถึง 200,000 บาท (มาตรา 69 วรรค 3)
=> คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ 100 กรัมขึ้นไปถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย (มาตรา 17 วรรค 2, มาตรา 69 วรรค 2, 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => ไม่ถึง 10 กิโลกรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
=> 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 26, 74)
ประเภท 5 => ไม่ถึง 10 กิโลกรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
=> 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 บาท ถึง 150,000 บาท (มาตรา 26, 76)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 76 วรรค 3)
ข้อหา : เสพ
ประเภท 1 => จำคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี และปรับ 5,000 บาท ถึง 10,000 บาท (มาตรา 91)
ประเภท 2 => จำคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี และปรับ 5,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 91)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 5 => จำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท (มาตรา 92 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นพืชกระท่อม จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท (มาตรา 92 วรรค 2)
ข้อหา : ใช้ให้ผู้อื่นเสพ
ประเภท 1 => ผู้ใช้ต้องระวางโทษเป็น 2 เท่า และถ้ากระทำต่อหญิง หรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ โทษประหารชีวิต (มาตรา 93 วรรค 5)
ประเภท 2 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
=> ถ้าเป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีน ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพิ่มอีกกึ่งหนึ่ง ถ้าทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะจำคุกตลอดชีวิตและปรับ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 4)
ประเภท 3 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 4 => (ไม่มีระบุ)
ประเภท 5 => จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
หมายเหตุ 1. - ผู้ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่นใดให้ผู้อื่นเสพ จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี แลปรับ 10,000 ถึง 100,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 1)
- ถ้าผู้ใช้มีอาวุธ หรือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป จำคุก 2 ปี ถึง 15 ปี และปรับ 20,000 ถึง 150,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 2)
- ถ้ากระทำต่อหญิง ผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ เพื่อจูงใจให้ผู้อื่นทำผิดอาญา หรือเพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้อื่นในการกระทำผิดอาญา จำคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 30,000 ถึง 50,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 3)
- ถ้าวัตถุแห่งการกระทำผิด เป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีนเพิ่มโทษอีกกึ่งหนี่ง และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องโทษจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 500,000 บาท (มาตรา 93 วรรค 4)
- ถ้าเป็นยาเสพติดประเภท 1 ต้องระวางโทษเป็นสองเท่า และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือผู้ไม่บรรลุนิติภาวะต้องโทษประหารชีวิต (มาตรา 93 วรรค 5)
2. - ถ้ากำลังรับโทษอยู่หรือภายใน 5 ปี นับแต่พ้นโทษได้กระทำผิดกฎหมายนี้อีกให้เพิ่มโทษอีกกึ่งหนึ่งของโทษที่ศาลลงครั้งหลัง (มาตรา 97)
3. - กรรมการ อนุกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดหรือตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล หรือสภาท้องถิ่นอื่น ข้าราชการ พนักงาานส่วนท้องถิ่น พนักงานองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจผู้ใด ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติด สมคบหรือสนับสนุนช่วยเหลือความผิด 5 ฐานข้างต้น ต้องระวางโทษเป็นสามเท่าของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น (พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2500 มาตรา 100 และ พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 10)
แนวทางการป้องกันยาเสพติด
สภาพปัญหา
ปัญหาที่เกิดจากยาเสพติด เป็นปัญหาสังคมปัญหาหนึ่งที่มีความสลับซับซ้อน มีองค์ประกอบ 3 ประการที่เป็นสาเหตุของปัญหา คือ ตัวบุคคล ยาและสิ่งแวดล้อม
1. ตัวบุคคล
มนุษย์ที่ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมจะต้องประสบกับปัญหา อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางร่างกาย ทางอารมณ์ ทางเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ และทางสังคม ผู้ที่ปรับตัวให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลง หรือสภาพนั้นๆ ไม่ได้ ก็จะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากความถูกต้องของสังคม และอาจหันไปใช้ยาเสพติดเป็นทางออกในการแก้ปัญหา
2. ยา
ปัจจุบันมียาชนิดต่างๆ อยู่มากมาย ทั้งที่ถูกกฎหมายและไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยตัวของยาเองแล้วนั้นมิได้ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ จนกว่าคนจะนำยานั้นไปใช้ในทางที่ผิด จึงเกิดปัญหาตามมา
3. สิ่งแวดล้อม
มนุษย์จำเป็นต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มสังคม ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ตามสภาพสังคม มนุษย์ทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมและสภาพสิ่งแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ สภาพแวดล้อมเหล่านี้อาจมีส่วนผลักดันทำให้บุคคลหันไปใช้ยาเสพติดได้
ทั้ง 3 สิ่งนี้อยู่ร่วมกันไดั โดยไม่เกิดปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด ถ้าบุคคลนั้นๆ เข้าใจการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง เข้าใจเรื่องการใช้ยา และเข้าใจเรื่องการป้องกันยาเสพติด
การป้องกันยาเสพติดมุ่งไปที่ใคร
การป้องกันยาเสพติดมุ่งดำเนินการพัฒนาที่ตัวบุคคล โดยจะดำเนินการทุกวิธีการที่จะให้การศึกษาและเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายให้มีความเข้าใจในเรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติด วิธีการป้องกันยาเสพติด รู้จักตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่ถูกต้องและเหมาะสมในการแก้ไขปัญหา รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้อยู่ภายใต้พื้นฐานความคิดที่ว่า ถ้าบุคคลนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีแล้ว ก็เปรียบเสมือนมีเกราะป้องกันให้พ้นจากภัยของยาเสพติด
การพัฒนาคุณภาพชีวิตนั้น เป็นอย่างไร
ชีวิตทุกชีวิตมีค่า ทั้งต่อตัวเอง ต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม ถ้าชีวิตทุกชีวิตดำเนินไปอย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม ตามสภาพสังคม ความเป็นอยู่ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักทางเลือกในการแก้ปัญหาชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมก็ไม่เดือดร้อน เรียกได้ว่า คนคนนั้นเป็นผู้มีคุณภาพชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิตจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้คนพ้นจากภัยยาเสพติด หรืออาจกล่าวได้ว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตก็คือการทำให้คนเป็นคนดีที่มีคุณค่า
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
การป้องกันด้วยตนเอง
/ การป้องกันภายในครอบครัว
/ แก้ไขเมื่อสมาชิกติดยาเสพติด
/ การป้องกันภายในชุมชน
ปัญหายาเสพติดไม่ได้เป็นปัญหาของผู้ติดยาเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วย สำหรับผู้ติดยาเสพติดจะบั่นทอนสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ และเป็นที่รังเกียจของสังคม ส่วนผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น พ่อแม่ของผู้ติดยาก็ต้องเป็นทุกข์ เมื่อพบว่ายาเสพติดได้กลายเป็นสิ่งที่ทำลายอนาคตของลูก ญาติ พี่น้อง เกิดความอายที่สมาชิกในครอบครัวติดยา เพื่อนฝูงหรือครูอาจารย์ย่อมไม่ต้องการที่จะเห็นเพื่อนหรือลูกศิษย์ของตนต้องได้รับความทุกข์จากปัญหายาเสพติด นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดยังส่งผลกระทบต่อชุมชนและสังคมด้วย กล่าวคือ ปัญหายาเสพติดทำให้ชุมชนและสังคมต้อสูญเสียบุคคลที่จะช่วยในการพัฒนาประเทศ โดยในแต่ละปีรัฐบาลจะต้องทุ่มเทงบประมาณเป็นจำนวนมาก สำหรับนำมาแก้ไขปัญหายาเสพติดและปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แทนที่จะนำเอาเงินส่วนนี้ไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศในด้านอื่น
ฉะนั้น จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องร่วมมือกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด มิให้เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว และสังคม
ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จุดเริ่มต้นคงจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จุดเริ่มต้นคงจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ตัวเองก่อนแล้วจึงขยายการป้องกันไปยังคนในครอบครัวและเพื่อนรอบข้าง ท้ายที่สุดจะต้องมองการป้องกันและแก้ไขปัญหาไปสู่ชุมชนที่ตัวเองอาศัยอยู่
1. การป้องกันและแก้ไขตนเองจากยาเสพติด
2. การป้องกันและแก้ไขครอบครัวของตนเอง จากปัญหายาเสพติด
3. ถ้าสมาชิกในครอบครัวคนใดคนหนึ่งติดยาเสพติด จะแก้ไขอย่างไร
4. การป้องกันและแก้ไขชุมชนของตนเองให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด
ทำอย่างไรเมื่อตกเป็นตัวประกัน
ภาพและข่าวเหตุการณ์คนร้ายคลั่งยาบ้าจี้จับเด็กและผู้หญิงเป็นตัวประกันมีให้เห็นมาตลอด ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจาก "ยาบ้า" ส่งผลให้ผู้ที่เสพติดมีระบบประสาทผิดปกติ เมื่อถึงจุดหนึ่งจะเกิดอาการหูแว่ว ประสาทหลอน หวาดระแวงจนเกิดความเครียด คิดว่าจะมีคนมาฆ่าหรือทำร้าย บางรายกลัวมากต้องหาอาวุธไว้ป้องกันตัว หรือคลุ้มคลั่งจับตัวประกัน
โดยทั่วไป คนเมายาบ้าที่จับตัวประกัน จะไม่คิดฆ่าตัวประกัน เพราะเขาต้องการเพียงเอาตัวรอด และการที่เขาเลือกจับเด็กหรือผู้หญิงเป็นตัวประกัน เนื่องจากเด็กหรือผู้หญิงจะอ่อนแอกว่า ซึ่งจะขู่บังคับและควบคุมได้ง่าย
เคล็ด (ไม่) ลับกับการสังเกตคนเมายาบ้า
1. อยู่ไม่เป็นสุข ลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่าย
2. หวาดกลัว และระแวงอยู่ตลอดเวลา
3. สีหน้าเลื่อนลอยเหมือนคนไม่ได้นอนหลับพักผ่อน
4. เนื้อตัวสกปรก มอมแมม
ทำอย่างไรดี เมื่อตกเป็นตัวประกัน...
1. ตั้งสติให้ดี พยายามระงับอารมณ์ อย่างตื่นตระหนกตกใจ ควรใจเย็นๆ และอย่าดิ้นหนี เพราะจะเป็นสาเหตุให้ผู้ก่อเหตุตึงเครียด
2. ไม่ควรต่อสู้ขัดขืน แม้มีโอกาสหรือช่องทางก็ตาม เพราะจะเป็นการเสี่ยงต่อการถูกทำร้าย
3. ให้โอนอ่อนผ่อนตาม ยอมทำตามที่ผู้ก่อเหตุขู่บังคับ เพื่อให้เขาอารมณ์เย็นลง เป็นการถ่วงเวลา และรักษาชีวิต จนกว่าเจ้าหน้าที่จะหาทางช่วยเหลือได้
ไทยมุงที่ดี...ควรเป็นอย่างไร
"ไทยมุง" ไม่ว่าจะเป็นใคร พ่อแม่ ญาติพี่น้อง เพื่อนตัวประกัน สื่อมวลชนหรือแม้แต่ผู้ที่บังเอิญเจอเหตุการณ์ ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ไม่ควรตะโกนหรือแสดงอารมณ์ร่วมจนเกินเหตุ
2. ควรทิ้งระยะห่างจากเหตุการณ์พอสมควร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้สะดวก
3. หากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ก่อเหตุ ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่โดยด่วน
4. หากเกิดเหตุในที่ทำงาน ต้องรีบกันพื้นที่ให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องรบกวนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
การตรวจปัสสาวะเพื่อค้นหาผู้เสพยา
ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากเสพ “ยาบ้า” เมทแอมเฟตามีนจะถูกขับออกทางปัสสาวะในรูปเมทแอมเฟตามีนประมาณ 44% และบางส่วนถูกขับออกในรูปที่ถูกเปลี่ยนแปลงเป็นแอมเฟตามีน และ 4 –ไฮดรอกซีเมทแอมเฟตามีน
สำหรับอีเฟดรีนก็เช่นเดียวกัน จะถูกขับออกในรูปของอีเฟดรีนประมาณ 55-75% ส่วนตัวยาที่เหลือจะขับออกในรูปของนอร์อีเฟดรีน กรดเบนโซอิค และกรดฮิปปูริค ดังนั้นจึงสามารถตรวจหาผู้เสพได้จากการตรวจปัสสาวะ
การตรวจพิสูจน์
การดำเนินการแบ่งเป็นขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. เก็บปัสสาวะ
2. การตรวจพิสูจน์เบื้องต้น / การแปลผล
3.การตรวจยืนยันผล / การแปลผล
สถานที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
สถานที่ให้คำปรึกษา / สถานที่บำบัดรักษา / สถานฟื้นฟูสมรรถภาพ
ถ้าบุตรหลานหรือบุคคลในครอบครัวของท่านมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดหรือติดยาเสพติดท่านสามารถที่จะช่วยเหลือเขาเหล่านั้นได้โดยขอรับคำปรึกษาจากหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
1. สำนักพัฒนาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. ถนนดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0-2245-9083-4
2. กองป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์ 0-2248-5746-7
3. หน่วยป้องกันยาเสพติด 1 โทรศัพท์ 0-2465-9663
4. หน่วยป้องกันยาเสพติด 2 โทรศัพท์ 0-2254-2039
5. หน่วยป้องกันยาเสพติด 3 โทรศัพท์ 0-2513-2509
6. หน่วยป้องกันยาเสพติด 4 โทรศัพท์ 0-2391-8118
7. สายด่วนสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 1667
8. สายด่วนกรมการแพทย์ โทรศัพท์ 1165
9. ศูนย์ประสานงานกลางองค์การเอกชนต่อต้านยาเสพติด, ศูนย์อาสาสมัครต่อต้านยาเสพติด สภาสังเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ศ.อ.ส.)
โทรศัพท์ 0-2245-5522, 0-2246-1457-61 ต่อ 501, 502, 415, 416
10. ศูนย์ซับน้ำตาผู้ติดยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ โทรศัพท์ 0-2253-8827
11. ศูนย์ซับน้ำตาผู้ติดยาเสพติด โรงพยาบาลตากสิน โทรศัพท์ 0-2863-1371-2 ต่อ 1146, 1156
12. ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 1 กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ 0-2551-3824, 0-2521-3056, 0-2521-3064, 0-2521-3066
13. ศูนย์สายด่วน (HOT line) กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 1669
14. สมาคมสะมารีตันส์ โทรศัพท์ 0-2249-9977
15. สายด่วนวัยรุ่น โทรศัพท์ 0-2275-6993-4
ศัพท์ในวงการยาเสพติด
เล่น หมายถึง เสพยาเสพติด เช่น เล่นของ หมายถึง เสพเฮโรอีน หรือเล่นเนื้อ หมายถึง เสพกัญชา
โส หมายถึง ผู้ติดยา
ปืน หมายถึง สลิ้งค์ฉีดยา
หมู หมายถึง ฝิ่นที่คลุกยาฉุน ยาเส้น ใบพลู ใบจาก หรือกัญชาใช้ม้วนสูบด้วยกล้อง
จ๊อย หมายถึง หน่วยนับที่ใช้เรียกกับฝิ่น เช่น ฝิ่น 1 จ๊อย น้ำหนักประมาณ 1.6 กิโลกรัม
โช้ค หมายถึง การเสพเฮโรอีนโดยวิธีฉีดเข้าสู่ร่างกายทางเส้นเลือดครั้งหนึ่งก่อน แล้วดูดเลือดออกมาใหม่เพื่อล้างคราบเฮโรอีนที่ยังหลงเหลือในหลอดสลิงค์ให้หมดแล้วฉีดเข้าไปอีกครั้งหนึ่ง
สอย หมายถึง การสูบเฮโรอีนโดยวิธีสอดใส่บุหรี่ หรือใช้ปลายบุหรี่จิ้มสูบ
ดองหรือยาดองหรือเทอร์โบ หมายถึง การนำยาบ้ามาผสมกับเครื่องดื่มชูกำลังเพื่อให้ออกฤทธ์รุนแรงขึ้น ขณะเดียวกันก็เป็นการอำพรางเจ้าเหน้าที่ในการขายด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะพบว่ามีการขายบริเวณปั๊มน้ำมัน หรือสถานีขนส่ง
ผ่อน หมายถึง การเสพเลิกยาเสพติด โดยลดปริมาณยาและจำนวนครั้งในการเสพและใช้ยาอื่นชดเชยด้วย
น็อค หมายถึง เสพยาเสพติดเกินขนาดแล้วหลับหรือหมดสติ
หักดิบ หมายถึง การถอนยาอย่างกระทันหันทำให้เกิดอาการหนาวสั่นและขนลุก ทำให้เกิดปุ่มเล็กๆ บนผิวหนัง (อาการขนลุก) คล้ายกับไก่ที่ถูกถอนขน ฝรั่งเลยเรียกว่า "Cold Turkey" แต่ไทยเรียกว่า "หักดิบ" หรือเป็นการเลิกยาเสพติดโดยหยุดเสพและไม่ได้ใช้ยาอื่นช่วย
พี้ หมายถึง สูบกัญชา
บ้อง หมายถึง อุปกรณ์สำหรับสูบกัญชา
ยำ หมายถึง การเอากัญชามาผสมกับยาเส้นในบุหรี่
โรย หมายถึง การสูบกัญชาผสมเฮโรอีน
เข็มวิปริต หมายถึง พวกติดยาเสพติด ซึ่งเมื่อฉีดแล้วชอบถอนเข็มออก แล้วฉีดกลับเข้าไปใหม่หลายๆ ครั้ง เพื่อความสะใจในอารมณ์ ถือเป็นความสุขที่ได้ทำเช่นนั้น
สปีด (Speed) หมายถึง เมทแอมเฟตามีน โดยทำให้เป็นของเหลวสำหรับฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
สปีดบอล (Speedball) หมายถึง ยาฉีดซึ่งประกอบด้วยยากดประสาท และกระตุ้นประสาท ได้แก่ โคเคนผสมกับเฮโรอีน หรือเมทแอมเฟตามีนผสมกับเฮโรอีน
อดหรือกินยา หมายถึง การเลิกใช้ยาเสพติด โดยการใช้ยาอื่นชดเชย (รักษาตามศูนย์สาธารณสุข)
ติดลึก หมายถึง ติดยาเสพติดมานานแล้ว ยากที่จะเลิกได้
ชน หมายถึง ชื่อเรียกขานการซื้อยาเสพติด
เรือ หมายถึง ผู้รับจ้างซื้อเฮโรอีนหรือรับจ้างจำหน่าย เฮโรอีน
เปรม หมายถึง อาการของผู้ติดยาหลังเสพ
รวบรวมเกร็ดความรู้ยาเสพติด
ยาเสพติดกับอารมณ์ / การออกฤทธิ์ของยาเสพติด / อาการขาดยา / ยาเสพติดทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
บุคลิกภาพกับการเสพติด / อาการติดยาทางกายและทางใจ / ปกป้องลูกจากยาเสพติด
ยาเสพติดกับอารมณ์
ยาเสพติดมีอิทธิพลต่ออารมณ์ ความรู้สึกได้อย่างไร
ยาเสพติดก่อให้เกิดผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของคนเรา โดยการเปลี่ยนแปลงระดับและการทำงานของสารเคมี ที่เป็นตัวรับส่งสัญญาณจากเซลล์สมองเซลล์หนึ่ง ยาเสพติดแต่ละชนิด มีผลกระทบดังนี้
โคเคน จะเข้าไปเกาะบริเวณที่รับสารโดพามีน ทำให้โดพามีน ไม่สามารถซึมกลับเข้าไปในเซลล์ประสาทได้ ผลคือ ทำให้สารโดพามีนในสมองมีระดับสูงซึ่งจะทำให้ผู้เสพเกิดอาการเคลิบเคลิ้ม
สุราและยานอนหลับอาจเข้าไปกระตุ้นการทำงานของสารเคมีในสมองทำให้เกิดอาการง่วงซึม หรือหลับได้ แอลกอฮอล์ยังมีผลต่อสารสื่อประสาทอีกหลายชนิด
เฮโรอีนและสารที่เป็นอนุพันธุ์ของฝิ่นจะมีฤทธิ์คล้ายเอ็นดอร์ฟิน (endorphin) ซึ่งเป็นสารเคมีในสมองที่ระงับความเจ็บปวดเมื่อเฮโรอีนเข้าสู่สมองจะไปยับยั้งการสร้างสารเอ็นดอร์ฟิน ดังนั้น หากหยุดเสพยาอย่างกะทันหันสมองก็จะขาดสารระงับปวดนี้ จึงทำให้เกิดอาการทรมาณขึ้นเมื่อขาดยา
การออกฤทธิ์ของยาเสพติด
ยาเสพติดประเภทกดประสาท (Depressant) จะออกฤทธิ์กดศูนย์ประสาทและอวัยวะต่างๆ ของร่างกายผู้เสพ ดังนี้
1. ออกฤทธิ์ต่อประสาทสมองส่วนกลาง ซีรีเบริล คอร์เทค (Cerebral Cortex) โดยจะกดศูนย์ประสาทสมองส่วนที่รับความรู้สึกให้มึนชา ทำให้ขาดความตั้งใจ ขาดความกระตือรือร้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ทำให้เกิดอาการทางจิตใจเปลี่ยนแปลงไป
2. ออกฤทธิ์ต่อประสาทสมองส่วนเมดัลลารี่ (Medullary Centers) ทำให้ไปกดศูนย์ประสาทการหายใจ ทำให้การหายใจช้า จะทำให้การเต้นของหัวใจช้าลง
3. ออกฤทธิ์ต่อประสาทไขสันหลัง (Spinal Cord) ทำให้เกิดปฏิกิริยามีอาการกระตุ้นต่างๆ เกิดขึ้น
4. ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทต่างๆ ของร่างกาย ทำให้ปรากฏอาการเปลี่ยนแปลงในระบบต่างๆ ของร่างกายผู้เสพดังนี้
ต่อระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinaltract) ทำให้กล้ามเนื้อเกี่ยวกับทางเดินอาหารทำงานสูงขึ้น เพื่อที่จะบังคับให้อุจจาระผ่านออก และถ้าแรงขับของกล้ามเนื้อทางเดินอาหารทำงานสูงขึ้น อาจจะทำให้มีการเคลื่อนไหวในทางตรงข้าม ทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเกิดขึ้นได้ ต่อระบบขับปัสสาวะ (Urinary tract) ทำให้กล้ามเนื้อหูรูดเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะหดตัวทั้งๆ ที่กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะทำงานสูงขึ้นก็ตาม ทำให้ผู้ติดยาเสพติดถ่ายปัสสาวะยากกว่าปกติ
ต่อระบบการไหลเวียนของโลหิต (Circulation) ทำให้เส้นเลือดในช่องท้องหดตัว ทำให้การไหลเวียนของโลหิตในร่างกายไม่เป็นไปตามปกติ จะเห็นได้ว่าผู้ติดยาเสพติดประเภทนี้จะตัวเหลือง อันเนื่องมาจากโลหิตไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงร่างกายไม่ปกติ โลหิตฝอยส่วนปลายทั่วไปขยายตัว
อาการขาดยา
จะเริ่มหลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย 4-10 ชั่วโมง แล้วไม่สามารถหายามาเสพได้อีก จะมีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิด โกรธง่าย ตื่นตกใจง่าย หาวนอนบ่อยๆ น้ำมูกน้ำตาไหล น้ำลาย และเหงื่อออกมาก ขนลุก กล้ามเนื้อกระตุก ตัวสั่น ม่านตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวดท้อง อาเจียน ท้องเดิน บางรายมีอาการรุนแรงถึงขนาดถ่ายเป็นเลือด ที่ภาษาชาวบ้านเรียกว่า "ลงแดง" ผู้ติดยาจะมีความต้องการยาอย่างรุนแรงจนขาดเหตุผลที่ถูกต้อง อาการขาดยานี้จะเพิ่มขึ้นในระยะ 24 ชั่วโมงแรก และจะเกิดมากที่สุด ภายใน 48 - 72 ชั่วโมง และหลังจากนั้นอาการจะค่อยๆ ลดลง
ยาเสพติดทำให้เกิดควาผิดปกติทางจิต
การใช้ยาบางชนิดในปริมาณมาก เป็นเวลานานโดยเฉพาะจำพวกยาบ้าอาจก่อให้เกิดอาการทางจิตที่คล้ายกับอาการของโรคจิตเภท ได้ผลการศึกษาติดตามอาการของผู้เสพยา เป็นเวลา 6 ปี พบว่า 55% ของผู้ที่ใช้ยากระตุ้นประสาท จะเกิดอาการเหมือนโรคจิตเภท แต่ส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นเมื่อหยุดใช้ยา แต่อย่างไรก็ตามยังมีกรณีของผู้ที่ใช้ยาหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี แล้วทำให้เกิดความผิดปกติทางจิตขึ้นด้วยเช่นกัน
บุคลิกภาพกับการเสพติด
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์มุ่งศึกษาถึงวิธีการต่างๆ ที่ยาเหล่านี้เข้าไปแทรกแซงการทำงานของสมอง แต่ความรู้ทางชีวเคมีที่รวบรวมมาได้นั้น ก็อธิบายถึงสาเหตุที่คนเราติดยาได้เพียงบางส่วนเท่านั้น การใช้เหตุผลทางบุคลิกภาพ และสิ่งแวดล้อมก็อธิบายได้เพียงบางส่วนเช่นกัน
สำหรับแนวคิดเรื่องบุคลิกภาพที่มีผลต่อการเสพติดนั้น คงมีความเห็นไม่ลงรอยกันอยู่ คือ พวกหนึ่งก็โทษ "ผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอ" ว่าสร้างปัญหาให้ตนเอง แต่อีกพวกก็ว่าจะไปโทษผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอให้รับผิดชอบต่อพฤติกรรมของตนเองนั้นไม่ได้
แม้ว่าลักษณะทางด้านจิตใจบางอย่าง เช่น มีความภูมิใจในตัวเองต่ำ หรือปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น ความยากจน ปัญหาครอบครัวการคบเพื่อน หรือความกดดันจากสังคม อาจกระตุ้นให้เกิดการใช้ยาเสพติด แต่ข้อเท็จจริงก็แสดงให้เห็นว่ามีผู้ติดยามาจากทุกสาขาอาชีพและยังมีลักษณะจิตใจที่แตกต่างกัน
มีปัจจัยเกี่ยวพันกันอยู่ 3 ประการ ที่มีผลสำคัญต่อการติดยา ได้แก่ ธรรมชาติของยาเสพติดแต่ละชนิด ธรรมชาติของผู้เสพเอง และสภาพแวดล้อมทางสังคม กล่าวคือคนแต่ละคนจะติดยาหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับฤทธิ์ของยาแต่ละชนิด (โดยเฉพาะฤทธิ์ที่จะทำให้เกิดการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ) โดยจะไปมีผลต่อองค์ประกอบทางชีวภาพและอารมณ์รวมทั้งภูมิหลัง และสิ่งแวดล้อมของคนๆ นั้น
อาการติดยาทางกายและทางใจ
ยาเสพติดบางชนิดก่อให้เกิดการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ บางชนิดทำให้เสพติดทางด้านจิตใจเพียงอย่างเดียวแต่เนื่องจากอาการติดยาทั้ง 2 ลักษณะ ต่างเกิดจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีในสมองเหมือนๆ กันความแตกต่างจึงเห็นได้ไม่ชัดเจนนัก
อาการติดยาทางกายเกิดขึ้นได้ใน 2 ลักษณะ คือ อาการดื้อยา เป็นภาวะที่ร่างกายต้องการยาในปริมาณมากขึ้น เพื่อให้เกิดผลเท่าเดิมและอาการถอนยา หรือขาดยาเป็นอาการเจ็บปวดทรมาน ที่เกิดขึ้นหลังจากหยุดเสพยา ยาเสพติดบางชนิด เช่น เฮโรอีนอาจก่อให้เกิดอาการได้ทั้ง 2 ลักษณะ ในขณะที่ยาเสพติดบางชนิดอย่างกัญชา ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอาการเสพติดทางกายแต่อย่างใด มีแต่อาการทางด้านจิตใจเท่านั้น ซึ่งจะทำให้ผู้เสพเกิดความรู้สึกต้องการยานั้นซ้ำแล้วซ้ำอีก
ปกป้องลูกจากยาเสพติด
อะไรคือวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้ลูกไปลองยาเสพติด
มีพ่อแม่น้อยคนนักที่จะนั่งลงพูดคุยกับลูกเรื่องยาเสพติด เว้นเสียแต่ว่า จะสงสัยว่าลูกอาจติดยา ซึ่งในหลายกรณีอาจจะสายเกินไปแล้ว พ่อแม่มักใช้วิธีอบรมและสั่ง "ห้าม" ลูกไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดมากกว่าที่จะอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติดทั้งหลาย รวมทั้งให้คำแนะนำเรื่องการคบเพื่อน ซึ่งอาจชักจูงลูกไปในทางที่ผิด
พ่อกับแม่ที่ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติดต่างๆ ไม่ว่าเป็นบุหรี่ สุรา หรือยาเสพติดย่อมทำให้ลูกเข้าใจเหตุผลที่ถูกสั่งห้าม จึงเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด ลูกควรมีความรู้เรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ส่วนพ่อแม่เองก็ควรจะต้องมีความเข้าใจถึงผลของยาเสพติด ที่มีต่อพัฒนาการทางร่างกาย และจิตใจของลูก จะได้อธิบายให้ลูกฟังได้อย่างชัดเจน
ไม่ควรอนุญาตให้ลูกไปงานเลี้ยง หรือร่วมกิจกรรมที่คุณสงสัยว่า อาจจะมียาเสพติดเข้ามาเกี่ยวข้อง ที่สำคัญพ่อแม่ที่ปรารถนาให้ลูกวัยรุ่นของตนรอดพ้นจากปัญหายาเสพติด ไม่ควรทำตัว "ปากว่าตาขยิบ" อย่าลืมทบทวนตัวคุณเองด้วยว่า คุณดื่มเหล้า หรือสูบบุหรี่มากน้อยแค่ไหน หรือให้ดีก็ควรเลิกเสียทั้งหมดและควรเปิดโอกาสให้ลูกพูดคุยอย่างตรงไปตรงมา เกี่ยวกับทัศนคติของคุณต่อยาเสพติดทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)